TrueBusiness Techno Notes Nov17 | Page 5

( หรือ บางท่านอาจเปรียบเทียบว่าเป็น อีสเทิร์นซีบอร์ด ภาค 2 ) เป็นแผนยุทธศาสตร์ต่างประเทศภายใต้ไทยแลนด์ 4.0 ที่ต่อยอดความสำเร็จมาจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ภาคตะวันออก หรือ Eastern Seaboard เดิม ซึ ่งเป็น ส่วนสำคัญที่ผลักดันให้ประเทศมีการพัฒนาอย่างก้าว กระโดด ด้วยการขยายตัวทางเศรษฐกิจเฉลี ่ย 8 % ต่อปี จนกระทั ่งวิกฤตการณ์ต้มยำกุ ้ง การจัดตั ้งนิคมอุตสาห- กรรม 32 แห่ง รองรับโรงงานกว่า 5,000 โรง การ สร้างท่าเรือน้ำลึกแห่งแรกของไทยบริเวณแหลมฉบัง และ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ ส่งผลให้พื้นที่ภาค ตะวันออกกลายเป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมสำคัญ อาทิ ศูนย์การผลิตปิโตรเคมีที่มีขนาดใหญ่ติด 1 ใน 5 ของเอเชีย และศูนย์กลางการผลิตยานยนต์และชิ้นส่วน ยานยนต์ หรือ “ Detroit of the East ” และด้วยความ พร้อมด้านโครงสร้างพื ้นฐานเดิมนี ้เอง ประกอบกับทำเล ที่ตั้งที่มีความได้เปรียบในการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ ของภูมิภาค รวมทั้งช�อเสียงและมาตรฐานระดับโลก โครงการ EEC จึงเป็นความหวังใหม่ในการขับเคล�อน เศรษฐกิจประเทศในยุคอุตสาหกรรม 4.0
ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา นอกจากจะเป็นจุดหมายปลาย ทางเพ�อการท่องเที ่ยวของนักท่องเที ่ยวจากทั ่วทุกสารทิศ แล้วยังเป็นที ่ตั ้งของโรงงานอุตสาหกรรมที ่เกี ่ยวข้องกับ ยานยนต์ ปิโตรเลียมและเคมีชีวภาพขั้นสูง การแปรรูป อาหาร และอีกหลากหลายรูปแบบอุตสาหกรรม ซึ่งล้วน แล้วแต่เป็นฐานการผลิต และก่อให้เกิดธุรกิจที่สามารถ ขับเคล�อนเศรษฐกิจของประเทศได้มากมายทีเดียวครับ
หลังจากที่ประเทศไทย ได้เริ่มต้นการเข้าร่วมเขตความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศอาเซียน หรือ AEC แล้ว ก็ได้ผลักดันภาคอุตสาหกรรมให้มีรูปแบบเป็นตลาด และฐานการผลิตเดียว คือสามารถเคล�อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน และแรงงานฝีมือได้อย่างเสรีมากขึ้น ทำให้ต่อไปจะสามารถเพิ่มการยกระดับความเช�อมโยง ระหว่างภูมิภาคขึ้นไปอีกขั้น ซึ่งประเทศไทยเองตั้งอยู่ใน จุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญ เช�อมต่อมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรอินเดีย ( East-West Economic Corridor ) และเช�อมต่อจีนตอนใต้เข้ากับภูมิภาคแหลมทอง ( North- South Economic Corridor ) ประเทศไทยจึงมีศักยภาพ เป็นศูนย์กลางการคมนาคม โลจิสติกส์ของภูมิภาค และ การเป็นประตูสู่เอเชีย เหมาะแก่การลงทุน

EEC ( Eastern Economic Corridor ) หรือ โครงการระเบียงเขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก

( หรือ บางท่านอาจเปรียบเทียบว่าเป็น อีสเทิร์นซีบอร์ด ภาค 2 ) เป็นแผนยุทธศาสตร์ต่างประเทศภายใต้ไทยแลนด์ 4.0 ที่ต่อยอดความสำเร็จมาจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ภาคตะวันออก หรือ Eastern Seaboard เดิม ซึ ่งเป็น ส่วนสำคัญที่ผลักดันให้ประเทศมีการพัฒนาอย่างก้าว กระโดด ด้วยการขยายตัวทางเศรษฐกิจเฉลี ่ย 8 % ต่อปี จนกระทั ่งวิกฤตการณ์ต้มยำกุ ้ง การจัดตั ้งนิคมอุตสาห- กรรม 32 แห่ง รองรับโรงงานกว่า 5,000 โรง การ สร้างท่าเรือน้ำลึกแห่งแรกของไทยบริเวณแหลมฉบัง และ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ ส่งผลให้พื้นที่ภาค ตะวันออกกลายเป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมสำคัญ อาทิ ศูนย์การผลิตปิโตรเคมีที่มีขนาดใหญ่ติด 1 ใน 5 ของเอเชีย และศูนย์กลางการผลิตยานยนต์และชิ้นส่วน ยานยนต์ หรือ “ Detroit of the East ” และด้วยความ พร้อมด้านโครงสร้างพื ้นฐานเดิมนี ้เอง ประกอบกับทำเล ที่ตั้งที่มีความได้เปรียบในการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ ของภูมิภาค รวมทั้งช�อเสียงและมาตรฐานระดับโลก โครงการ EEC จึงเป็นความหวังใหม่ในการขับเคล�อน เศรษฐกิจประเทศในยุคอุตสาหกรรม 4.0

จุดหมายปลายทางของนักท่องเที่ยว เปลี่ยนสถานะมาเป็นปลายทางของนักลงทุน

ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา นอกจากจะเป็นจุดหมายปลาย ทางเพ�อการท่องเที ่ยวของนักท่องเที ่ยวจากทั ่วทุกสารทิศ แล้วยังเป็นที ่ตั ้งของโรงงานอุตสาหกรรมที ่เกี ่ยวข้องกับ ยานยนต์ ปิโตรเลียมและเคมีชีวภาพขั้นสูง การแปรรูป อาหาร และอีกหลากหลายรูปแบบอุตสาหกรรม ซึ่งล้วน แล้วแต่เป็นฐานการผลิต และก่อให้เกิดธุรกิจที่สามารถ ขับเคล�อนเศรษฐกิจของประเทศได้มากมายทีเดียวครับ

หลังจากที่ประเทศไทย ได้เริ่มต้นการเข้าร่วมเขตความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศอาเซียน หรือ AEC แล้ว ก็ได้ผลักดันภาคอุตสาหกรรมให้มีรูปแบบเป็นตลาด และฐานการผลิตเดียว คือสามารถเคล�อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน และแรงงานฝีมือได้อย่างเสรีมากขึ้น ทำให้ต่อไปจะสามารถเพิ่มการยกระดับความเช�อมโยง ระหว่างภูมิภาคขึ้นไปอีกขั้น ซึ่งประเทศไทยเองตั้งอยู่ใน จุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญ เช�อมต่อมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรอินเดีย ( East-West Economic Corridor ) และเช�อมต่อจีนตอนใต้เข้ากับภูมิภาคแหลมทอง ( North- South Economic Corridor ) ประเทศไทยจึงมีศักยภาพ เป็นศูนย์กลางการคมนาคม โลจิสติกส์ของภูมิภาค และ การเป็นประตูสู่เอเชีย เหมาะแก่การลงทุน