TrueBusiness Techno Notes May18 | Page 7

รูปแบบการลงทุนของเมืองอัจฉริยะ สิ ่งสำคัญที ่จะทำให้ การพัฒนามีศักยภาพนั ้น ย่อมอยู ่บนพื ้นฐานของความ ร่วมมือทุกภาคส่วนในสังคมครับ ฝั ่งภาครัฐบาลสนับสนุน ได้ด้วยการวางแนวทาง กำหนดนโยบาย เช่น จัดตั้ง คณะกรรมการเมืองอัจฉริยะให้เหมาะสมกับการบริหาร ราชการแบบใหม่ที่ต้องปรับตัว โดยนำความรู้ในเร�อง นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาบริหารโครงการขนาดใหญ่ รวมทั ้งการปรับปรุงข้อจำกัดของกฎหมายที ่ไม่เหมาะสม และหน่วยงานออกแบบโครงสร้างระบบเทคโนโลยีเมือง อัจฉริยะตรงความต้องการของประชาชน ชุมชนในพื ้นที ฝั ่งภาคธุรกิจเอกชน คือแหล่งเงินทุนมหาศาล จึงจำเป็น จะต้องลุกขึ้นมาเลือกสรร นำเข้า และใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีอย่างจริงจัง รวมทั้งการสร้างโครงสร้าง พื้นฐานอย่างเหมาะสมรองรับการพัฒนาของประเทศ อย่างต่อเน�อง และต้องคำนึงถึงการให้บริการอย่างเป็น ธรรมต่อประชาชนด้วยนะครับ ในส่วนของภาคประชาชน ในพื้นที่ก็ต้องยอมรับนวัตกรรมและเทคโนโลยี นำมา ปรับใช้กับชีวิตประจำวัน เพ�อร่วมผลักดันให้พื้นที่ของ ตนกลายเป็นเมืองอัจฉริยะ โดยเริ่มจาก Smart Compact City จนเข้าไปสู ่ Smart City อย่างเต็มตัว
อุปกรณ์ผ่านอินเทอร์เน็ต ( IoT : Internet of Things ) การนำข้อมูล ( Big Data Analytics ) มาใช้เพ�อส่งเสริม พื้นที่ในมิติต่าง ๆ นอกเหนือจากหัวเมืองหลักในแต่ละ ภูมิภาคแล้ว ปัจจุบันแผนการขยายไป Smart City สู่ทางเดินเศรษฐกิจตะวันออกที่ จ . ชลบุรี จ . ระยองและ จ . ฉะเชิงเทรา หรือพื ้นที ่ระเบียงเขตเศรษฐกิจพิเศษ ( EEC ) เพ�อสร้างเมืองเศรษฐกิจอัจฉริยะ ซึ ่งขณะนี ้ความคืบหน้า ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ กำลังศึกษาความต้องการของคนในพื ้นที เพ�อจัดทำแผนแม่บท พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล บริเวณท่าเรือแหลมฉบัง รวมทั ้งเขตส่งเสริมอุตสาหกรรม และนวัตกรรมดิจิทัล หรือ Digital Park Thailand ทั้งหมดนี้ล้วนเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญในการเสริมสร้าง ศักยภาพของประเทศ จนนำไปสู่การพัฒนาประเทศใน ทุก ๆ ด้าน ได้อย่างยั่งยืนต่อไป

รูปแบบการลงทุนของเมืองอัจฉริยะ สิ ่งสำคัญที ่จะทำให้ การพัฒนามีศักยภาพนั ้น ย่อมอยู ่บนพื ้นฐานของความ ร่วมมือทุกภาคส่วนในสังคมครับ ฝั ่งภาครัฐบาลสนับสนุน ได้ด้วยการวางแนวทาง กำหนดนโยบาย เช่น จัดตั้ง คณะกรรมการเมืองอัจฉริยะให้เหมาะสมกับการบริหาร ราชการแบบใหม่ที่ต้องปรับตัว โดยนำความรู้ในเร�อง นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาบริหารโครงการขนาดใหญ่ รวมทั ้งการปรับปรุงข้อจำกัดของกฎหมายที ่ไม่เหมาะสม และหน่วยงานออกแบบโครงสร้างระบบเทคโนโลยีเมือง อัจฉริยะตรงความต้องการของประชาชน ชุมชนในพื ้นที ฝั ่งภาคธุรกิจเอกชน คือแหล่งเงินทุนมหาศาล จึงจำเป็น จะต้องลุกขึ้นมาเลือกสรร นำเข้า และใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีอย่างจริงจัง รวมทั้งการสร้างโครงสร้าง พื้นฐานอย่างเหมาะสมรองรับการพัฒนาของประเทศ อย่างต่อเน�อง และต้องคำนึงถึงการให้บริการอย่างเป็น ธรรมต่อประชาชนด้วยนะครับ ในส่วนของภาคประชาชน ในพื้นที่ก็ต้องยอมรับนวัตกรรมและเทคโนโลยี นำมา ปรับใช้กับชีวิตประจำวัน เพ�อร่วมผลักดันให้พื้นที่ของ ตนกลายเป็นเมืองอัจฉริยะ โดยเริ่มจาก Smart Compact City จนเข้าไปสู ่ Smart City อย่างเต็มตัว

อุปกรณ์ผ่านอินเทอร์เน็ต ( IoT : Internet of Things ) การนำข้อมูล ( Big Data Analytics ) มาใช้เพ�อส่งเสริม พื้นที่ในมิติต่าง ๆ นอกเหนือจากหัวเมืองหลักในแต่ละ ภูมิภาคแล้ว ปัจจุบันแผนการขยายไป Smart City สู่ทางเดินเศรษฐกิจตะวันออกที่ จ . ชลบุรี จ . ระยองและ จ . ฉะเชิงเทรา หรือพื ้นที ่ระเบียงเขตเศรษฐกิจพิเศษ ( EEC ) เพ�อสร้างเมืองเศรษฐกิจอัจฉริยะ ซึ ่งขณะนี ้ความคืบหน้า ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ กำลังศึกษาความต้องการของคนในพื ้นที เพ�อจัดทำแผนแม่บท พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล บริเวณท่าเรือแหลมฉบัง รวมทั ้งเขตส่งเสริมอุตสาหกรรม และนวัตกรรมดิจิทัล หรือ Digital Park Thailand ทั้งหมดนี้ล้วนเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญในการเสริมสร้าง ศักยภาพของประเทศ จนนำไปสู่การพัฒนาประเทศใน ทุก ๆ ด้าน ได้อย่างยั่งยืนต่อไป

ข้อมูลอ้างอิง : การประชุม คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ( กนศ .) ครั้งที่ 3 / 2561 ( วันพุธที่ 18 เมษายน 2561 ) ณ ตึกภักดีบดินทร์ ทำเนียบรัฐบาล http :// www . mdes . go . th