TrueBusiness Techno Notes Mar17 | Page 6

ในปัจจุบันมีการทดสอบและพัฒนา 5G บนย่าน C-Band ในหลายประเทศ และย่าน 20 - 70 GHz ในบางประเทศ ซึ ่งย่านความถี ่ที ่สูงมากนี ้จะมีความยาวคล�นความถี ่สั ้นมาก จนเรียกว่าย่าน Millimeter Wave โดยการให้บริการ จะมีรัศมีจำกัดมาก ( ให้นึกถึงรัศมีของ Wi-Fi ในปัจจุบัน ซึ่งใช้คล�น 5.3 GHz เปรียบเทียบ ) ดังนั้นเพ�อให้การ ใช้งานครอบคลุมความต้องการทุกลักษณะ 5G จึงจำเป็น ต้องใช้ย่านความถี่ต่าง ๆ เพ�อเสริมประสิทธิภาพซึ่งกัน และกัน
ด้วยเหตุนี ้ ปัจจัยสำคัญในการชี ้ชะตา 5G ก็คือคล�นความถี ซึ ่งในระดับนานาชาติต้องมีการตกลงมาตรฐานการใช้คล�น ความถี ่ร่วมกันเพ�อให้อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถใช้งานได้ใน ทุกประเทศ และจำเป็นที่แต่ละประเทศต้องมี Spectrum Roadmap เพ�อรองรับการจัดสรรคล�นความถี ่อย่างเป็น ระบบ ย่านความถี่ที่อาจเห็นการจัดสรรสำหรับ 5G ก่อน คือย่าน 3.5 GHz เน�องจากในแต่ละประเทศยังเป็นคล�น ที่ไม่ได้ใช้งาน ส่วนย่าน 700 MHz ในหลายประเทศยัง ต้องรอการเปลี่ยนผ่านไปสู่ทีวีดิจิทัล จึงจะมีคล�นความถี่ มาให้บริการ 5G
นอกจากคล�นความถี่แล้ว หากการใช้บริการ 5G มีมาก อาจต้องการการเช�อมต่อผ่านสายใยแก้วนำแสงไปยังสถานี ฐานต่าง ๆ ( Fiber to the Antenna ) ด้วย เพราะใน อนาคตแต่ละสถานีฐานอาจต้องรองรับปริมาณการใช้งาน พร้อมกันของผู ้บริโภคสูงสุดกว่า 10 Gbps ต่อสถานีฐาน การเพิ ่มอุปกรณ์ E1 หรือเพิ ่ม Microwave Link ในแต่ละ โครงข่าย อาจไม่สามารถรองรับสถานการณ์ดังกล่าวได้
หันกลับมามองในประเทศไทยของเรา ผู ้ให้บริการเครือข่าย โทรศัพท์มือถือที่ในบ้านเราได้มีการเตรียมความพร้อม และทดสอบเทคโนโลยี Massive MIMO 32T32R ( MIMO : Multiple-Input and Multiple-Output : การรับ-ส่งคล�นสัญญาณหลายชุดพร้อมกันในช่อง ความถี่เดียวกัน ) ที่ถือเป็นเทคโนโลยีพื้นฐานของ 5G โดยเจ้า Massive MIMO นี้เป็นเทคโนโลยีที่สถานีฐาน จะค้นหาอุปกรณ์ของผู ้ใช้งานโดยอัตโนมัติและส่งสัญญาณ โดยตรงไปยังอุปกรณ์แต่ละเคร�อง ซึ่งจะทำให้ผู้ใช้งาน เหมือนมีช่องสัญญาณส่วนตัว
ปัจจุบันเทคโนโลยีการส่งข้อมูลแบบ LTE ที่เราใช้กันอยู่ ทุกวันนี ้ มีเทคนิคการส่งข้อมูลหลายอย่างให้ได้อัตราการ ส่งข้อมูลที่สูงขึ้น เทคนิคที่เราได้ยินช�อกันบ่อย ๆ ก็คือ Carrier Aggregation ( CA ) ที ่เป็นการนำเอาคล�นความ ถี ่ในหลายย่านความถี ่ มาช่วยกันกระจายการส่งข้อมูล ทำให้ ได้ความเร็วในการรับส่งที ่สูงขึ ้นกว่าเดิมหลายเท่า MIMO ก็เป็นเทคนิคอีกอย่างหนึ ่งที ่ LTE สามารถนำเอามาใช้งานได้ เครือข่าย LTE ในปัจจุบัน รองรับ MIMO ได้สูงสุดที่ 4x4 หรือ 4T4R ( 4 Transmitters 4 Receivers )

ในปัจจุบันมีการทดสอบและพัฒนา 5G บนย่าน C-Band ในหลายประเทศ และย่าน 20 - 70 GHz ในบางประเทศ ซึ ่งย่านความถี ่ที ่สูงมากนี ้จะมีความยาวคล�นความถี ่สั ้นมาก จนเรียกว่าย่าน Millimeter Wave โดยการให้บริการ จะมีรัศมีจำกัดมาก ( ให้นึกถึงรัศมีของ Wi-Fi ในปัจจุบัน ซึ่งใช้คล�น 5.3 GHz เปรียบเทียบ ) ดังนั้นเพ�อให้การ ใช้งานครอบคลุมความต้องการทุกลักษณะ 5G จึงจำเป็น ต้องใช้ย่านความถี่ต่าง ๆ เพ�อเสริมประสิทธิภาพซึ่งกัน และกัน

ด้วยเหตุนี ้ ปัจจัยสำคัญในการชี ้ชะตา 5G ก็คือคล�นความถี ซึ ่งในระดับนานาชาติต้องมีการตกลงมาตรฐานการใช้คล�น ความถี ่ร่วมกันเพ�อให้อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถใช้งานได้ใน ทุกประเทศ และจำเป็นที่แต่ละประเทศต้องมี Spectrum Roadmap เพ�อรองรับการจัดสรรคล�นความถี ่อย่างเป็น ระบบ ย่านความถี่ที่อาจเห็นการจัดสรรสำหรับ 5G ก่อน คือย่าน 3.5 GHz เน�องจากในแต่ละประเทศยังเป็นคล�น ที่ไม่ได้ใช้งาน ส่วนย่าน 700 MHz ในหลายประเทศยัง ต้องรอการเปลี่ยนผ่านไปสู่ทีวีดิจิทัล จึงจะมีคล�นความถี่ มาให้บริการ 5G

นอกจากคล�นความถี่แล้ว หากการใช้บริการ 5G มีมาก อาจต้องการการเช�อมต่อผ่านสายใยแก้วนำแสงไปยังสถานี ฐานต่าง ๆ ( Fiber to the Antenna ) ด้วย เพราะใน อนาคตแต่ละสถานีฐานอาจต้องรองรับปริมาณการใช้งาน พร้อมกันของผู ้บริโภคสูงสุดกว่า 10 Gbps ต่อสถานีฐาน การเพิ ่มอุปกรณ์ E1 หรือเพิ ่ม Microwave Link ในแต่ละ โครงข่าย อาจไม่สามารถรองรับสถานการณ์ดังกล่าวได้

หันกลับมามองในประเทศไทยของเรา ผู ้ให้บริการเครือข่าย โทรศัพท์มือถือที่ในบ้านเราได้มีการเตรียมความพร้อม และทดสอบเทคโนโลยี Massive MIMO 32T32R ( MIMO : Multiple-Input and Multiple-Output : การรับ-ส่งคล�นสัญญาณหลายชุดพร้อมกันในช่อง ความถี่เดียวกัน ) ที่ถือเป็นเทคโนโลยีพื้นฐานของ 5G โดยเจ้า Massive MIMO นี้เป็นเทคโนโลยีที่สถานีฐาน จะค้นหาอุปกรณ์ของผู ้ใช้งานโดยอัตโนมัติและส่งสัญญาณ โดยตรงไปยังอุปกรณ์แต่ละเคร�อง ซึ่งจะทำให้ผู้ใช้งาน เหมือนมีช่องสัญญาณส่วนตัว

ปัจจุบันเทคโนโลยีการส่งข้อมูลแบบ LTE ที่เราใช้กันอยู่ ทุกวันนี ้ มีเทคนิคการส่งข้อมูลหลายอย่างให้ได้อัตราการ ส่งข้อมูลที่สูงขึ้น เทคนิคที่เราได้ยินช�อกันบ่อย ๆ ก็คือ Carrier Aggregation ( CA ) ที ่เป็นการนำเอาคล�นความ ถี ่ในหลายย่านความถี ่ มาช่วยกันกระจายการส่งข้อมูล ทำให้ ได้ความเร็วในการรับส่งที ่สูงขึ ้นกว่าเดิมหลายเท่า MIMO ก็เป็นเทคนิคอีกอย่างหนึ ่งที ่ LTE สามารถนำเอามาใช้งานได้ เครือข่าย LTE ในปัจจุบัน รองรับ MIMO ได้สูงสุดที่ 4x4 หรือ 4T4R ( 4 Transmitters 4 Receivers )

6
TrueBusiness

TECHNO NOTES