TrueBusiness Techno Notes Jul18 | Page 6

หลังจากเราเปลี่ยนแปลงแนวคิดของคนในสังคมได้แล้ว ดร . อนุชิต อนุชิตานุกูล ประธานสายพัฒนาระบบงานช่อง ทางขายและผลิตภัณฑ์ ธนาคารเกียรตินาคิน จำกัด ( มหาชน ) มองว่า นอกจากการเตรียมพร้อมด้านแอปพลิเคชัน และ เทคโนโลยีแล้ว ความพร้อมทางด้าน Infrastructure ที ่ทำให้ทุกธนาคารเช�อมต่อกันได้อย่างสะดวกเป็นอีกหนึ ่ง ปัจจัยสำคัญที ่ทำให้สถานการณ์ของภาคการเงินเกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งเร�อง National E-Payment เป็นไอเดียที่เกิดขึ้นมานานแล้วประมาณ 10 ปี แต่เน�องจากที่ผ่านมามีอุปสรรคจึงไม่สามารถ ดำเนินการได้ ทำให้นโยบายของรัฐบาลต้องสนับสนุน การวาง Infrastructure ของการเงินใหม่เพ�อรองรับ การเติบโตในอีก 20 ปีข้างหน้า และต้องแก้ทุกปัญหาทุก อุปสรรคที ่มีอยู ่ตอนนี ้ให้หมดสำหรับสิ ่งที ่กำลังจะเกิดขึ ้น เช่น การยืนยันตัวตนที่ใช้ได้หลายไอดี ในอดีตหากต้อง การให้เพ�อนโอนเงินให้ เราต้องผูกติดกับเลขที่บัญชีที่ เต็มไปด้วยเง�อนไข แต่ปัจจุบันนี้เราสามารถรับเงินจาก ช่องทางอ�นที่ไม่ใช่แค่เลขบัญชีธนาคาร แต่อาจใช้เลข บัตรประชาชน หรือ ใช้เบอร์โทรศัพท์มือถือแทน ทำให้ ธนาคารต้องมีการแข่งขันลดค่าธรรมเนียม ในการดึงดูด ให้ลูกค้ามาใช้บริการด้วยราคาที่ถูกลง นอกจากนี้หากมี การปรับใช้ Infrastructure ใหม่อย่างเต็มรูปแบบจะช่วย ลดปัญหาการคอรัปชันได้ด้วย เช่น สวัสดิการคนจนที่ ภาครัฐสามารถจ่ายเงินไปยังเลขที่บัตรประชาชน หรือ หมายเลขโทรศัพท์ตามที่ระบุได้เลย
ไม่เพียงแต่การสนับสนุนจากในทุกภาคส่วนในสังคมใน การวาง Infrastructure ใหม่เท่านั ้น อาจารย์ปริญญา หอมเอนก ประธานและผู้ก่อตั้ง ACIS Professional Center เผยว่าวันนี ้นอกจาก Security ( ความปลอดภัย ) แล้ว Privacy ( ความเป็นส่วนตัว ) ก็สำคัญเช่นเดียวกัน สิ่งที่คนไทยต้องปรับมายด์เซตคือ การโทษระบบกรณี มีข้อผิดพลาด ซึ ่งเราไม่เคยถามตัวเองเลยว่ามีความเข้าใจ ในดิจิทัล ( Digital Literacy ) มากน้อยแค่ไหน เพราะ ไม่ว่าจะผู ้ใช้งานอยู ่ในระบบใด ต้องคิดไว้เสมอว่าไม่มีอะไร ถูกต้องสมบูรณ์ ทุกระบบสามารถเกิดความผิดพลาดได้ เราควรมีความรู้ความเข้าใจมากพอที่จะควบคุมความ เสียหาย เตรียมพร้อมสำหรับเหตุการณ์เลวร้ายเสมอ เช่น การถูก Hack บัญชี เราไม่ควรนำเงินจำนวนมากใส่ ไว้ในบัญชีออมทรัพย์ แต่ควรกระจายไปเป็นสินทรัพย์ อ�น ๆ หากใช้บัตรเครดิต ก็ให้มีระบบแจ้งเตือนมาเสมอ ทุกยอดการใช้จ่าย ปัจจุบันนี้ความสะดวกสบาย หรือ Social Media เป็นสิ่งที่ต้องแลกกับข้อมูลส่วนตัว บางอย่างแล้ว เราต้องเตรียมตัวที ่จะรับความเสี ่ยงด้วย เช่นกัน ทั้งนี้ ดร . อนุชิต อนุชิตานุกูล ได้ตั้งข้อสังเกต เช่นเดียวกันว่า พฤติกรรมการใช้ดิจิทัลของคนไทยเต็ม ไปด้วยความประมาท เน�องจากเราให้ข้อมูลส่วนตัวบน แพลตฟอร์มหรือแอปพลิเคชันต่าง ๆ มากมายได้อย่าง ง่ายดาย เช่น การทำ Quiz ใน Facebook ทำให้ง่าย ต่อการเข้าถึง เห็นได้ว่าคนไทยยังขาดความรู้ความเข้าใจ ด้าน Privacy อย่างแท้จริง เพราะไม่รู ้ว่าข้อมูลอะไรควร ให้ อะไรไม่ควรให้

ปัจจัยความสำเร็จของ Digital Payment

หลังจากเราเปลี่ยนแปลงแนวคิดของคนในสังคมได้แล้ว ดร . อนุชิต อนุชิตานุกูล ประธานสายพัฒนาระบบงานช่อง ทางขายและผลิตภัณฑ์ ธนาคารเกียรตินาคิน จำกัด ( มหาชน ) มองว่า นอกจากการเตรียมพร้อมด้านแอปพลิเคชัน และ เทคโนโลยีแล้ว ความพร้อมทางด้าน Infrastructure ที ่ทำให้ทุกธนาคารเช�อมต่อกันได้อย่างสะดวกเป็นอีกหนึ ่ง ปัจจัยสำคัญที ่ทำให้สถานการณ์ของภาคการเงินเกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งเร�อง National E-Payment เป็นไอเดียที่เกิดขึ้นมานานแล้วประมาณ 10 ปี แต่เน�องจากที่ผ่านมามีอุปสรรคจึงไม่สามารถ ดำเนินการได้ ทำให้นโยบายของรัฐบาลต้องสนับสนุน การวาง Infrastructure ของการเงินใหม่เพ�อรองรับ การเติบโตในอีก 20 ปีข้างหน้า และต้องแก้ทุกปัญหาทุก อุปสรรคที ่มีอยู ่ตอนนี ้ให้หมดสำหรับสิ ่งที ่กำลังจะเกิดขึ ้น เช่น การยืนยันตัวตนที่ใช้ได้หลายไอดี ในอดีตหากต้อง การให้เพ�อนโอนเงินให้ เราต้องผูกติดกับเลขที่บัญชีที่ เต็มไปด้วยเง�อนไข แต่ปัจจุบันนี้เราสามารถรับเงินจาก ช่องทางอ�นที่ไม่ใช่แค่เลขบัญชีธนาคาร แต่อาจใช้เลข บัตรประชาชน หรือ ใช้เบอร์โทรศัพท์มือถือแทน ทำให้ ธนาคารต้องมีการแข่งขันลดค่าธรรมเนียม ในการดึงดูด ให้ลูกค้ามาใช้บริการด้วยราคาที่ถูกลง นอกจากนี้หากมี การปรับใช้ Infrastructure ใหม่อย่างเต็มรูปแบบจะช่วย ลดปัญหาการคอรัปชันได้ด้วย เช่น สวัสดิการคนจนที่ ภาครัฐสามารถจ่ายเงินไปยังเลขที่บัตรประชาชน หรือ หมายเลขโทรศัพท์ตามที่ระบุได้เลย

ปรับความคิด ( Mindset ) เร�องความปลอดภัย

ไม่เพียงแต่การสนับสนุนจากในทุกภาคส่วนในสังคมใน การวาง Infrastructure ใหม่เท่านั ้น อาจารย์ปริญญา หอมเอนก ประธานและผู้ก่อตั้ง ACIS Professional Center เผยว่าวันนี ้นอกจาก Security ( ความปลอดภัย ) แล้ว Privacy ( ความเป็นส่วนตัว ) ก็สำคัญเช่นเดียวกัน สิ่งที่คนไทยต้องปรับมายด์เซตคือ การโทษระบบกรณี มีข้อผิดพลาด ซึ ่งเราไม่เคยถามตัวเองเลยว่ามีความเข้าใจ ในดิจิทัล ( Digital Literacy ) มากน้อยแค่ไหน เพราะ ไม่ว่าจะผู ้ใช้งานอยู ่ในระบบใด ต้องคิดไว้เสมอว่าไม่มีอะไร ถูกต้องสมบูรณ์ ทุกระบบสามารถเกิดความผิดพลาดได้ เราควรมีความรู้ความเข้าใจมากพอที่จะควบคุมความ เสียหาย เตรียมพร้อมสำหรับเหตุการณ์เลวร้ายเสมอ เช่น การถูก Hack บัญชี เราไม่ควรนำเงินจำนวนมากใส่ ไว้ในบัญชีออมทรัพย์ แต่ควรกระจายไปเป็นสินทรัพย์ อ�น ๆ หากใช้บัตรเครดิต ก็ให้มีระบบแจ้งเตือนมาเสมอ ทุกยอดการใช้จ่าย ปัจจุบันนี้ความสะดวกสบาย หรือ Social Media เป็นสิ่งที่ต้องแลกกับข้อมูลส่วนตัว บางอย่างแล้ว เราต้องเตรียมตัวที ่จะรับความเสี ่ยงด้วย เช่นกัน ทั้งนี้ ดร . อนุชิต อนุชิตานุกูล ได้ตั้งข้อสังเกต เช่นเดียวกันว่า พฤติกรรมการใช้ดิจิทัลของคนไทยเต็ม ไปด้วยความประมาท เน�องจากเราให้ข้อมูลส่วนตัวบน แพลตฟอร์มหรือแอปพลิเคชันต่าง ๆ มากมายได้อย่าง ง่ายดาย เช่น การทำ Quiz ใน Facebook ทำให้ง่าย ต่อการเข้าถึง เห็นได้ว่าคนไทยยังขาดความรู้ความเข้าใจ ด้าน Privacy อย่างแท้จริง เพราะไม่รู ้ว่าข้อมูลอะไรควร ให้ อะไรไม่ควรให้

6
TrueBusiness

TECHNO NOTES