School of Science Magazine no. 5 : October 2013 - March 2014 | Page 9

Story 09 ความรู้สึกนักศึกษา ดร.ปิยเนตร เปิดเผยว่า จุดเริ่มแรก ของการนำสื่อการสอนต่างๆเข้าไปในชั้นเรียน คือ คิดว่าวิชาฟิสิกส์เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ ธรรมชาติ ซึ่งน่าจะเป็นวิชาที่สอนได้ง่ายและ สนุก เพราะหาตัวอย่างได้ทกทีและรอบตัวผ่าน ุ ่ การสังเกต และลงมือปฏิบัติ รวมทั้งเมื่อนำ เครื่องดนตรีมาเป็นสื่อการสอนในห้องเรียน น่าจะสามารถสร้างความสนุกสนาน ลดความ ตึงเครียดได้มากทีเดียว วิชาฟิสิกส์ในความคิด ของนักศึกษาส่วนใหญ่นน เป็นสิงทีเป็นนามธรรม ้ั ่ ่ มองไม่เห็น จับต้องไม่ได้ มีแต่การคำนวณ สูตรสมการทียงยาก เลยคิดว่าเราจะทำอย่างไร ่ ุ่ ให้นักศึกษารู้สึกสนุกและสนใจการเรียน เนื่อง จากเป็นคนทีชนชอบในเสียงเพลงมากจึงนำเอา ่ ่ื “อูคเลเล่” มาเป็นเครืองมือช่วยสอนชินแรกเมือ ู ่ ้ ่ ประมาณ 3 ปีที่แล้ว รวมถึงการได้เข้าร่วม โครงการค่ายวิทยาศาสตร์สญจร ครังที่ 1 และ 2 ั ้ จึงเป็นทีมาของการนำสิงต่าง ๆ มาเป็นเครื่องมือ ่ ่ ช่วยสอนในวิชาฟิสิกส์และ คณิตศาสตร์จน ทุกวันนี้ “ตอนแรกทีนำเครืองดนตรีเข้ามานักศึกษา ่ ่ ก็ต่ืนเต้นแปลกใจว่าอาจารย์นำอูคูเลเล่มาใน ชั้นเรียนทำไม แต่พออาจารย์สอนและให้ Let’s Observe! นักศึกษาสังเกต ฟิสิกส์ในชีวิตประจำวันด้วยตนเอง นักศึกษา ได้ดู ฟัง และสังเกตตามทฤษฎีที่ เรี ย นก็ ท ำให้ นั ก ศึ ก ษามี ค วามเข้ า ใจมากขึ้ น นอกจากนันยังให้นกศึกษามีสวนร่วมกับการเรียน ้ ั ่ ในแต่ละชั่วโมงด้วยการให้ออกมาเป็นตัวแทน สาธิตการทดลองด้วยอุปกรณ์ที่อาจารย์เตรียม มาทำให้นักศึกษาสนุกกับการเรียน ได้สังเกต ทดลอง จากประสบการณ์จริง ไม่ค่อยมีใคร หลับ เพราะจะตื่นตัวตลอดเวลากลัวถูกถาม และเรียกไปสาธิตหน้าห้อง เมื่อใครสักคนออก ไปสาธิตหน้าห้องเพือนๆ ก็จะช่วยลุนและเชียร์ ่ ้ ว่าจะมีอะไรให้ดูบ้าง ทำให้นักศึกษามีทัศนคติ ที่ดีต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์มากขึ้น” “แรงบันดาลใจที่อยากสอนแบบนี้คือ สมัยเรียนตัวเองไม่ได้เก่งอะไรมากมาย กว่า จะเข้าใจเนื้อหาวิชาแต่ละอย่างได้อย่างถ่องแท้ ต้องใช้เวลาทำความเข้าใจ และฝึกฝนเป็นเวลา นาน โดยตัวเองมีเพียงแต่ความสนใจอยากรู้ และได้ครูอาจารย์ที่ดีเป็นผู้ช่วยผลักดัน เมื่อ ได้ก้าวเข้าสู่อาชีพของความเป็นครูก็อยากจะ สอนให้นกเรียนได้รสกสนุก เข้าใจได้งายพร้อม ั ู้ ึ ่ ที่จะเรียนรู้ ได้พัฒนาตนเอง และมีความสุข ในการเรียน ซึ่งสิ่งเหล่านี้อาจจะทำให้คนได้ พัฒนาศักยภาพที่มีอยู่ในตนเอง สามารถช่วย พัฒนาประเท