School of Science Magazine no. 5 : October 2013 - March 2014 | Page 11

Focus ECO-TILE หลังคามุงด้วย “กระเบื้องว่าว ไชโยอีโคไทล์ (Chaiyo Eco-tile)” สีเอิร์ทโทน ดูสวยแปลกตา ของอาคารสองหลังในเขตอำเภอเมือง จังหวัด พะเยา หนึ่งในความสำเร็จที่เป็นรูปธรรม จาก การคิดค้นวิจัยและพัฒนาวัสดุที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม หรือ Eco-materials ของกลุ่มวิจัย ทางวัสดุศาสตร์ สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหา วิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปัจจุบัน โดยเฉพาะทางภาคเหนือ ให้ความ สำคัญกับการอนุรกษ์วฒนธรรมท้องถินมากขึน ั ั ่ ้ ไม่เว้นแม้แต่การสร้างบ้านเรือน รีสอร์ท โรงแรม และอาคารต่างๆ ผู้ก่อสร้างนิยมสร้างแบบไทย โบราณ การใช้กระเบื้องว่าว ซึ่งเป็นกระเบื้อง มุงหลังคาชนิดแผ่นเรียบ รูปทรงสี่เหลี่ยมข้าว หลามตัด คล้ายว่าวปักเป้า จึงทำให้หลังคา มีลักษณะลายเส้นแบบข้าวหลามตัด และให้ อารมณ์แบบบ้านไทยยุคโบราณ จากความนิยม ดังกล่าว ส่งผลให้มีความต้องการผลิตภัณฑ์ กระเบื้องว่าวเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง 11 ผศ.ดร.สุธี วัฒนศิริเวช อาจารย์ประจำสำนักวิชาวิทยาศาสตร์ และคุณธรรมพลก์ ศรีสกุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท ท่าจำปี จำกัด ในการวิจัย ได้มีการออกแบบและทดลอง ปรับอัตราส่วนผสม ศึกษาผลของวิธีและขั้น ตอนในการผสม ปริมาณความชื้น ความดันใน การอัดขึ้นรูป เป็นต้น เพื่อให้กระเบื้องที่ได้มี สมบัติที่ดีของกระเบื้องมุงหลังคา ได้แก่ ต้อง แข็งแรง ไม่แตกร้าวง่าย และสามารถป้องกัน น้ำฝนไม่ให้ซึมผ่านเข้าสู่ตัวบ้านได้ โดยทั่วไป ในการผลิตจึงต้องเน้นทีการเพิมแรงยึดประสาน ่ ่ ระหว่างอนุภาค พร้อมกับการลดโพรงอากาศ คุณธรรมพลก์, คุณวิสทธิ คูหสวรรณ (เจ้าของบ้านทีใช้กระเบืองว่าวไชโย) และ ผศ.ดร.สุธี ุ ์ ์ุ ่ ้ การผลิตกระเบื้องว่าวโดยทั่วไป ทำได้โดย ผสมปูน