Flash ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 กันยายน-ตุลาคม 2554 | Page 71

ถ้าแปลแบบยียวนตามประสาคนรุ่นใหม่ “ภู” ก็เข้าใจได้ว่า คือภูเขา ส่วน “เก็ต” อาจจะต้องเดา ว่า “Get” ซึ่งหมายถึง เข้าใจ แต่ เ มื อ งเขามี ที่ ม า แถมยั ง หลงเหลื อ งาม งดงามล�ำค่าให้เราไปชม เกินทีใครจะคาดเดา หรือ ้ ่ สรุปกันไปเอง จากการสืบค้นพบว่า ค�ำว่า “ภูเก็ต” น่าจะ เพี้ยนมาจากค�ำว่า บูกิต (ในภาษามลายูแปลว่า ภูเขา) หรือที่เคยรู้จักแต่โบราณในนาม เมืองถลาง เดิมค�ำว่า ภูเก็ต นั้นใช้ค�ำว่า “ภูเก็จ” อันแปลว่า “เมืองแก้ว” จึงมีการใช้ตราเป็นรูปภูเขา(ภู)ที่มี ประกายแก้ว(เก็จ)เปล่งออกเป็นรัศมี ตรงกับความ หมายเดิมซึ่งชาวทมิฬเรียก “มณิครัม” ตามหลัก ฐาน พ.ศ. 1568 ภูเก็ตเป็นทีรจกของนักเดินเรือทีใช้ ่ ู้ ั ่ เส้นทางระหว่างจีนกับอินเดีย โดยผ่านแหลมมลายู หลักฐานที่เก่าแก่ที่สุดก็คือ หนังสือภูมิศาสตร์และ แผนที่เดินเรือของคลอดิอุส ปโตเลมี เมื่อประมาณ พ.ศ. 700 กล่าวถึงการเดินทางจากแหลมสุวรรณภูมิ ลงมาจนถึงแหลมมลายู ซึงต้องผ่านแหลม จังซีลอน ่ หรือเกาะภูเก็ต (เกาะถลาง) ด้วยเรื่องราวทางประวัติศาสตร์อันยาวนาน ท�ำให้ภเู ก็ตมีลกษณะพิเศษทีนอกเหนือจากเกาแก่ง ั ่ อันสวยงาม ชายหาดทีเ่ ลือกหาความเป็นส่วนตัวได้ รอบทิศ ในตัวเมืองยังมีอาคาร บ้านพักอาศัย ร้านค้า ต่างๆ สถานทีราชการ หรือส�ำนักงานบริษทเอกชน ่ ั ที่มีลักษณะที่สวยงาม ภายใต้สถาปัตยกรรมแบบ ชิโน-โปรตุกส (Chino-Portuguese Architecture) ี ส� ำ หรั บ สถาปั ต ยกรรม “ชิ โ น-โปรตุ กี ส ” (Chino-Portuguese Architecture) ถือก�ำเนิดขึ้น ในดินแดนแหลมมลายูในยุคสม