B Connect Issue 12 B-Connect-12 | Page 84

นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนาครูในโรงเรียนหรือสถานศึกษา หลังจาก ที เ ่ ราได้ร บ ั งบประมาณจากรัฐบาล เพื อ ่ พัฒนาครูท ท ี่ ำ � งานอยู แ ่ ล้ว โดย ปัจจุบ น ั เราได้สร้างโรงเรียนเครือข่ายขึ น ้ ในปีงบประมาณ 2562 ซึ ง ่ จะม โรงเรียนเครือข่ายทั ง ้ หมด 20 โรง ที จ ่ ง ั หวัดสระแก้ว 10 โรง และจังหวัด ปทุมธานี 10 โรง ส่วนรูปแบบนั น ้ ก็จะเป็นการเข้าไปยกระดับความรู้ ความเข้าใจของครูในเรื อ ่ งของการจัดการเรียนรู ส ้ มัยใหม่ท เ ี่ รียกว่าการ จัดกระบวนการเรียนรู แ ้ บบ Practice Learning ให้ครูผ ส ้ ู อนในสถาน ศึกษา โดยโรงเรียนที เ ่ ป็นเครือข่ายนั น ้ จะได้ร บ ั ความร่วมมือและได้ร บ ั การ สนับสนุนจากทางมหาวิทยาลัยวไลยลงกรณ์โดยตรง เช่น การอบรมเรื อ ่ ง สื อ ่ การสอนสมัยใหม่ รวมถึงการไป Coaching ครูในโรงเรียนเครือข่ายให มีความสามารถเพิ ม ่ ยิ ง ่ ขึ น ้ Active Learning กับ Productive Learning แตกต่างกันอย่างไร Q เหมือนว่าจะมีพ น ั ธกิจหนึ ง ่ ที ท ่ างมหาวิทยาลัยได้ร บ ั มาจาก รัฐบาลด้วย ใช่ ตอนนี ส ้ ง ิ่ ที เ ่ ราได้ร บ ั มอบหมายจากทางรัฐบาล เพื อ ่ ให้เกิด ผลสัมฤทธิใ น ์ ช่วง 2-3 ปีข า ้ งหน้า คือ การแก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก และเขียนไม่ได้ของนักเรียนในโรงเรียนต่างๆ ที ม ่ ป ี ญ หาเกี ย ่ วกับเรื อ ่ งน เนื อ ่ งจากปัจจุบ น ั มีน ก ั เรียนจ�ำนวนหนึ ง ่ ประสบกับปัญหานี้ ซึ ง ่ ตรงนี เ ้ รา ก็จะให้วางแนวความคิดแบบ Family Learning Style หรือรูปแบบ ที จ ่ ะจัดการเรียนรู ใ ้ ห้ก บ ั นักเรียน โดยโมเดลการจัดการเรียนรู้ Family Learning Style เป็นแนวทางที ม ่ หาวิทยาลัยท�ำการวิจ ย ั และพัฒนาร่วม กัน เพื อ ่ ที จ ่ ะใช้จ ด ั การเรียนการสอนให้ก บ ั โรงเรียนที เ ่ ป็นโรงเรียนเครือข่าย ก่อนและจะขยายต่อไปในโรงเรียนอื น ่ ๆ ในอนาคต บทบาทของเราคือสถาบันการศึกษา เราจ�ำเป็นที ต ่ อ ้ งยกระดับ พัฒนาคุณภาพการเรียนรู ข ้ องนักศึกษาในหลักสูตรปริญญาตรีของเรา ควบคู ไ ่ ปกับสิ ง ่ ที เ ่ ราวางไว้ข า ้ งต้นที ก ่ ล่าวมาด้วย ซึ ง ่ ขณะนี เ ้ ราได้ข บ ั เคลื อ ่ น ยุทธศาสตร์ส ำ � คัญก็ค อ ื เรื อ ่ งของการแบ่งการเรียนรู ใ ้ ห้น ก ั ศึกษาของเราได้ม การฝึกปฏิบ ต ั จ ิ ริงๆ ทั ง ้ ในแง่ระหว่างการเรียนรู้ และในแง่ของการออกไป ปฏิบ ต ั ง ิ านในสถานประกอบการต่างๆ โดยเฉพาะกับการใช้ช ม ุ ชนสังคม เป็นห้องปฏิบ ต ั ก ิ ารส�ำหรับนักศึกษาที จ ่ ะได้ฝ ก ึ ท�ำงานหรือเริ ม ่ เรียนรู ก ้ บ ั ชุมชน ซึ ง ่ จะเป็นการยกระดับการเรียนรู ข ้ องนักศึกษาโดยตรง นอกจากนี้ เราก�ำลังส่งเสริมให้น ก ั ศึกษาของเราได้ก า ้ วสู ก ่ ารเป็น ผู ป ้ ระกอบการใหม่ ด้วยการกระตุ น ้ ให้เกิดการสร้างชิ น ้ งานหรือสร้าง แนวคิดในการด�ำเนินธุรกิจใหม่ๆ ซึ ง ่ ทางมหาวิทยาลัยเองได้จ ด ั ให้ม ห ี อ ้ ง ปฏิบ ต ั ก ิ ารที เ ่ รียกว่า “พื น ้ ที เ ่ พื อ ่ การเรียนรู ข ้ องนักศึกษา” เช่น เราก�ำลัง จะสร้างโมเดิร น ์ เทรดขึ น ้ มาเอง เพื อ ่ เป็นศูนย์การค้าขนาดเล็กให้น ก ั ศึกษา ได้มาทดลองเป็นผู ป ้ ระกอบการใหม่ หรือว่าน�ำเอาสินค้าจากชุมชนที ท ่ าง มหาวิทยาลัย หรือนักศึกษาไปร่วมด�ำเนินการส่งเสริมพัฒนาเอามาเป็น พื น ้ ที จ ่ ด ั จ�ำหน่ายให้ก บ ั ชุมชน สังคมจุดนี ถ ้ อ ื เป็นการท�ำ Productive Learning ซึ ง ่ เป็น 3 ยุทธศาสตร์ส ำ � คัญของมหาวิทยาลัยฯ ที ก ่ ำ � ลังพยายาม ขับเคลื่อนให้เกิดขึ้นในช่วง 4-5 ปี ข้างหน้า และนี่คือบทบาทของ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ที จ ่ ะพยายามท�ำ หน้าที เ ่ ป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื อ ่ การพัฒนาท้องถิ น ่ และเป็นสถานที ผ ่ ลิต บุคลากรที เ ่ ป็นก�ำลังส�ำคัญของประเทศชาติในอนาคตต่อไป Q ปัญหาการอ่านออกเขียนได้ของเด็กมีเยอะ จนเป็นประเด็น ส�ำคัญขนาดนั น ้ เลยหรือ Q จริงๆ แล้ว ในส่วนของประเทศไทยมีหลายพื น ้ ที แ ่ ละในหลาย จังหวัดที ป ่ ระสบกับปัญหานี้ ซึ ง ่ ต้องยอมรับว่าเป็นปัญหาเชิงสังคมที เ ่ ริ ม ่ มาจากตัวพ่อแม่ หรือผู ป ้ กครองที อ ่ ยู ใ ่ นวัยท�ำงานที ต ่ อ ้ งออกไปท�ำงานใน ต่างพื น ้ ที่ จนมีเวลาให้ครอบครัวน้อยมาก ดังนั น ้ เราจึงเปิดพื น ้ ที ห ่ รือห้องเรียนบ้างห้องเรียนเป็นพิเศษขึ น ้ มา อย่างเช่นพื น ้ ที่ อบจ.ของปทุมธานีท ม ี่ เ ี ด็กอยู ป ่ ระมาณ 2 ห้อง ซึ ง ่ ขณะนั น ้ เด็กที อ ่ ยู่ ม.1 ที ไ ่ ม่สามารถอ่านหรือเขียนได้ไม่คล่องนั น ้ ทางโรงเรียน ก็สามารถติดต่อมาทางมหาวิทยาลัยให้เข้าไปช่วยเพื อ ่ ที จ ่ ะหาวิธ จ ี ด ั การ เช่น จัดกิจกรรมอย่างไรให้เขาอ่านออกเขียนได้คล่องมากยิ ง ่ ขึ น ้ ซึ ง ่ เรื อ ่ งน เป็นปัญหาระดับชาติท เ ี่ ราอาสาเข้าไปบริหารจัดการ 82 Q ข้ามมาในส่วนสุดท้ายหรือด้านการเรียนการสอนบ้าง ทางมหาวิทยาลัยวางแนวทางเกี ย ่ วกับเรื อ ่ งนี ไ ้ ว้อย่างไร B-CONNECT MAGAZINE จริงๆ แล้วการเรียนรู ใ ้ นลักษณะของ Active Learning นั น ้ เป็นการเรียนรู จ ้ ากการปฏิบ ต ั จ ิ ริงก็ค อ ื ไม่ว า ่ จะเรียนวิชาอะไรก็แล้วแต ต้องเน้นการปฏิบ ต ั ิ ซึ ง ่ ค�ำว่า “การปฏิบ ต ั ” ิ อาจจะหมายถึงการวิเคราะห ปัญหา และหาแนวทางแก้ไข หรืออาจจะหมายถึงการผลิตชิ น ้ งานยก ตัวอย่างเช่น การผลิตรายการทีว ห ี รือวีด โ ี อ หรือการเขียนบทความหรือ เขียนวรรณกรรมต่างๆ ถ้าเป็นนักศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ อาจจะหมาย ถึงการผลิตคิดท่าการแสดงต่างๆ ซึ ง ่ เขาต้องเรียนรู จ ้ ากการปฏิบ ต ั จ ิ ริงไม พยายามให้เรียนรู จ ้ ากทฤษฎีส ก ั เท่าไรนัก ฉะนั น ้ ในฐานะของการเป็นมหาวิทยาลัยฯ ที ม ่ ง ่ ุ เน้นกระบวนการ เรียนการสอนในเชิงนี เ ้ สมอมา นี จ ่ ง ึ เป็นการต่อยอดว่า ทุกๆ การปฏิบ ต ั ิ จะเกิดผลลัพธ์บางอย่าง และผลลัพธ์ท ว ี่ า ่ ส่วนใหญ่ก ค ็ อ ื โปรดักต์ ไม่ว า ่ จะ เป็นโปรดักต์ท เ ี่ กี ย ่ วกับไอเดียหรือโปรดักต์ท เ ี่ ป็นสิ ง ่ ของจับต้องได้ ดังนั น ้ นิยามของ Product Learning ที เ ่ ราวางไว้ จึงเป็นการให้เด็กได้เเรียนรู้ เพื อ ่ ที จ ่ ะสร้างชิ น ้ งานในเชิงประจักษ์ต อ ่ คนโดยทั ว ่ ไป ซึ ง ่ จะส่งผลให้เกิด มูลค่าของตัวพวกเขาเองอย่างเป็นรูปธรรม