B Connect Issue 12 B-Connect-12 | Page 83

ดร.สุพจน์ ทรายแก้ว ราชภัฏวไลยลงกรณ สร้างบัณฑิตเพื่อชุมชนท้องถิ่น รับชมวีดีโอสัมภาษณ ในปัจจุบันที่การเปลี่ยนแปลงทางด้านบริบทของสังคมไทยและสังคมโลกส่งผลให้ผู้คนในสังคมต้องช่วยกันคิดช่วยกันจรรโลงหลัก แห่งธรรมาภิบาล หรือช่วยกันวางแนวทางการจัดระเบียบให้สังคมรัฐ ภาคธุรกิจเอกชนและภาคประชาชนให้เป็นไปในแนวทางที่สร้างสรรค มีศักยภาพและประสิทธิภาพ ภายใต้พื้นฐานของความซื่อสัตย์สุจริตและขยันหมั่นเพียร ซึ่งรากฐานที่ส�ำคัญนอกจากจะต้องเริ่มปลูกฝังกัน ตั้งแต่สถาบันครอบครัวแล้ว สถานศึกษาก็เป็นอีกแห่งที่มีบทบาทไม่แพ้กัน มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ หรือเดิมคือ สถาบันราชภัฏเพชรบุร ว ี ท ิ ยาลงกรณ์ ถือเป็นมหาวิทยาลัยแห่งเดียวที อ ่ ยู ใ ่ นพระบรม ราชูปถัมภ์ของในหลวงรัชกาลที่ 9 ในตลอดระยะเวลา 80 ปีท ผ า ่ นมา โดยมุ ง ่ มั น ๋ ในการเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื อ ่ พัฒนาท้องถิ น ่ ให้ม ค ี วาม สมบูรณ์และยั่งยืน ตามพระบรมราโชบายของในหลวงรัชกาลที่ 9 และรัชกาลที่ 10 จนถึงปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ยังคงปักหลักกับยุทธศาสตร์เพื่อการศึกษาและการสร้างสังคมชุมชนระดับคุณภาพ ควบคู่ไปกับแผนการสร้างความยั่งยืนให้ท้องถิ่น ให้ยกระดับขึ้นไปอีกขั้นอย่างต่อเนื่อง ไม่เคยเปลี่ยนแปลง ซึ่งถือเป็นภารกิจที่อาจจะแตกต่างจากมหาวิทยาลัยอื่นๆ ทั้งนี้ มหาวิทยาลัย ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ภายใต้การน�ำของ ดร.สุพจน์ ทรายแก้ว รักษาการแทนอธิการบดี ก็ยังคงสานต่อยุทธศาสตร์ดังกล่าวต่อไป Q แนวยุทธศาสตร์ใหม่ของมหาวิทยาลัยฯ ตามแนว พระราชด�ำริเป็นอย่างไรบ้าง ปัจจุบ น ั ทางมหาวิทยาลัยได้วางแนวยุทธศาสตร์ใหม่ตามแนว พระราชด�ำริ ซึ ง ่ มีอยู่ 3 เรื อ ่ งที ส ่ ำ � คัญ ได้แก่ การพัฒนาท้องถิ น ่ , การพัฒนา บุคลากรครู และการพัฒนาระบบการเรียนการสอน ส�ำหรับเรื อ ่ งของการพัฒนาท้องถิ น ่ เป็นเรื อ ่ งที ส ่ ำ � คัญอย่างยิ ง ่ และ ทางมหาวิทยาลัยฯ ก�ำลังจะขับเคลื อ ่ นงานเรื อ ่ งนี ใ ้ ห้เห็นผลเป็นรูปธรรม ที ผ ่ า ่ นมา ผมเองได้ม โ ี อกาสเข้าพบท่านผู ว ้ า ่ ราชการจังหวัดทั ง ้ 2 จังหวัด คือ จังหวัดสระแก้วและจังหวัดปทุมธานี โดยวางกรอบร่วมมือกันว่า จะท�ำงานในการพัฒนาท้องถิ น ่ นั น ้ ๆ ได้อย่างไร อย่างที จ ่ ง ั หวัดสระแก้วมีโครงการสร้างเมืองสุขภาวะเป็นแนวคิดท ดี สุขภาพดี เศรษฐกิจ สิ ง ่ แวดล้อมที ด ่ ี ซึ ง ่ ได้เตรียมการส่งอาจารย์ลงพื น ้ ที ท ่ ำ � งานแล้ว ขณะที่จังหวัดปทุมธานีก็ได้จับคู่กับองค์การบริหารส่วนต�ำบล กลุ ม ่ แม่บ า ้ น กลุ ม ่ ประชากรที จ ่ ะร่วมกันพัฒนาชุมชนท้องถิ น ่ ในการท จะท�ำงานร่วมกันและตอนนี้ก�ำลังจะร่วมมือกับสถาบันพัฒนาชุมชน เมือง (พอช.) ที จ ่ ะพัฒนากลุ ม ่ วิสาหกิจย่อยต่างๆ หรือชุมชนย่อยต่างๆ ของเขตภาคกลางจะได้ม ก ี ารบันทึกความเข้าใจ (MOU) และพัฒนาร่วม กันตรงนี ถ ้ อ ื ว่า เราสร้างรูปธรรมการพัฒนาท้องถิ น ่ จากตัวชุมชนให้เกิด ผลตามพระราชด�ำรัสคือการให้ไปพัฒนาชุมชนในท้องถิ น ่ ต่อซึ ง ่ ทางเราก สร้างผลงานเชิงประจักษ Q ในส่วนของบุคลากรครู ทางมหาวิทยาลัยฯ มีการให้ความ ส�ำคัญด้านใดบ้าง การให้ความส�ำคัญกับการผลิตพัฒนาครูเป็นอีกเรื อ ่ งที เ ่ ราให ความส�ำคัญมาอย่างต่อเนื อ ่ ง โดยปัจจุบ น ั เราได้ปรับปรุงหลักสูตรด้าน การผลิตบุคลากรครูภายใต้หลักสูตร 4 ปี ซึ ง ่ สาระส�ำคัญจะอยู ท ่ ก ี่ ารให ลงไปฝึกปฏิบ ต ั ใ ิ นสถานศึกษาจริงตั ง ้ แต่ปี 1 จนถึงปีส ด ุ ท้ายของการเรียน ของนักศึกษา เราเรียกรูปแบบของการผลิตครูในลักษณะนี้ Residence Teacher คือ ให้ครูท เ ี่ ป็นนักศึกษาของเราไปท�ำงานร่วมกับโรงเรียนของ ชุมชนในท้องถิ น ่ เพื อ ่ แก้ไขปัญหาอย่างจริงจังจากนั น ้ เมื อ ่ จบการศึกษา ไปแล้วก็จะสามารถที จ ่ ะออกไปท�ำงานได้อย่างจริงจัง อันนี เ ้ ป็นเรื อ ่ งของ การผลิตนักศึกษาคร B-CONNECT MAGAZINE 81