B Connect Issue 12 B-Connect-12 | Page 68

อ.ส.ค.ด�ำเนินการมานาน ทั ง ้ นี้ “ไทย-เดนมาร์ค มิลค์แลนด์” จะท�ำให้เรา เข้าถึงคนกลุ ม ่ ผู บ ้ ริโภคใหม่ๆ ได้เป็นอย่างดี ในโลเคชั น ่ ระดับไพรม์ของ เมือง เราจึงมีแผนที จ ่ ะเปิด “ไทย-เดนมาร์ค มิลค์แลนด์” ในเมืองต่างๆ ทั ว ่ ทุกภูม ภ ิ าค ซึ ง ่ ก่อนหน้านี ท ้ าง อ.ส.ค. ได้เปิด “ไทย-เดนมาร์ค มิลค์ช อ ็ ป” ในสถาบันการศึกษา ทั ง ้ ระดับโรงเรียน – มหาวิทยาลัย เพื อ ่ ให้น ก ั เรียน นักศึกษาสามารถเข้าถึงผลิตภัณฑ์ของเราได้อย่างเต็มท Q แล้วยุทธศาสตร์อ น ื่ ๆ สู ก ่ ารเป็น “นมแห่งชาติ” คืออะไร ส่วนการเป็นศูนย์กลางความรู เ ้ รื อ ่ งโคนมของประเทศไทยนั น ้ เดิม อ.ส.ค.ท�ำหน้าที เ ่ ป็นหน่วยงานที ใ ่ ห้ความรู ก ้ บ ั เกษตรกร ทั ง ้ การเลี ย ้ งโคนม การดูแล การบริหารจัดการฟาร์มโคนม เพื อ ่ เพิ ม ่ ผลผลิต และยกระดับมาตรฐานของน� ำ ้ นมดิบและฟาร์ม การลดต้นทุน การใช ประโยชน์ส ง ู สุดจากการท�ำปศุส ต ั ว์โคนม การรวมชุมชนเพื อ ่ ท�ำเกษตร แปลงใหญ่ส ำ � หรับการเพาะปลูกอาหารสัตว์ เพื อ ่ การเลี ย ้ งโคนม และล่าสุด อ.ส.ค. มีแผนที จ ่ ะจัดตั ง ้ สถาบันโคนม หรือ Diary Academy เพื อ ่ พัฒนา สถาบันที เ ่ กี ย ่ วข้องกับการเลี ย ้ งโคนมทั ง ้ โซ่อ ป ุ ทาน (Supply Chain) ขณะที่ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการองค์กรของ อ.ส.ค.นั้น บริษ ท ั ไทยเรทติ ง ้ แอนด์อ น ิ ฟอร์เมชั น ่ เซอร์ว ส ิ จ�ำกัด สถาบันจัดอันดับ เครดิตแห่งแรกของไทยและจัดตั ง ้ ขึ น ้ โดยการสนับสนุนของกระทรวง การคลังและธนาคารแห่งประเทศไทยนั น ้ ได้ก ำ � หนดเกณฑ์ประเมินที เ ่ รียกว่า KPI ทั ง ้ นโยบาย ผลประกอบการที เ ่ ป็นเม็ดเงินและไม่ใช่เม็ดเงิน ตลอดจน การบริหารจัดการองค์กร ซึ ง ่ ในประเด็นนี้ เราได้ด ำ � เนินการปรับปรุงตนเอง เพื อ ่ เข้าสู ก ่ ารเป็นองค์กรที ม ่ ข ี ด ี สมรรถนะสูง พร้อมทั ง ้ เตรียมการทางด้าน กระบวนการจัดการภายในองค์กร การบริหารทรัพยากรบุคคล ไอท รวมทั ง ้ การควบคุมภายในและระบบการตรวจสอบการท�ำงานที ม ่ ค ี วาม โปร่งใส ใช้เทคโนโลยี ตรวจสอบได้ ตลอดจนมีนวัตกรรมเข้ามาสนับสนุน และยกระดับการบริหารงานภายในองค์กร Q ยุทธศาสตร์ทางด้านการพัฒนาอย่างยั ง ่ ยืนของอ.ส.ค. เป็นอย่างไร อ.ส.ค.ยังคงมุ ง ่ สืบสานพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูม พ ิ ลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) ที ท ่ รงพระราชทานอาชีพ การเลี ย ้ งโคนมให้ก บ ั ประชาชนชาวไทย พร้อมกับการน้อมน�ำหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงที ว ่ า ่ ด้วย “3 ห่วง” (ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ภูม ค ิ ม ้ ุ กัน) “2 เงื อ ่ นไข” (ความรู้ – คุณธรรม) มาใช้ในการบริหารองค์กร ควบคู ก ่ บ ั การแสดงความรับผิดชอบต่อผู ม ้ ส ี ว ่ นได้ ส่วนเสียของ อ.ส.ค.ตั ง ้ แต ต้นน� ำ ้ ถึงปลายน� ำ ้ ด้วยนโยบาย 5 ส. นั น ่ คือ o ส.ที่ 1 เสริมความสัมพันธ์ระหว่างเกษตรกร สหกรณ์ก บ ั อ.ส.ค.ให ยั ง ่ ยืน o ส.ที่ 2 สนับสนุนการท�ำธุรกิจแบบโปร่งใส เป็นธรรมตามเป้าหมาย o ส.ที่ 3 สร้างอุตสาหกรรมที เ ่ ป็นเลิศทั ง ้ ในด้านคุณภาพ ความปลอดภัย ทางด้านอาชีวอนามัยและสิ ง ่ แวดล้อม o ส.ที่ 4 ส่งเสริมคุณภาพการท�ำงาน (Quality of Working Life) 66 B-CONNECT MAGAZINE และคุณภาพชีว ต ิ บุคลากร ทุกระดับ(Happy Work Place) o ส.ที่ 5 สู ก ่ ารใช้ประโยชน์จากทรัพยากรของ อ.ส.ค.เพื อ ่ สร้างความ มั น ่ คง มั ง ่ คั ง ่ ยั ง ่ ยืนให้ก บ ั สังคมและประเทศในที ส ่ ด ุ พร้อมทั ง ้ ด�ำเนินงาน ตั ง ้ แต่ระดับต้นน� ำ ้ ถึงปลายน� ำ ้ ที ผ ่ า ่ นมา คือ o การดูแลระดับต้นน� ำ ้ ให้เกิดความมั น ่ คง ยั ง ่ ยืน o การจัดการระดับกลางน� ำ ้ อย่างมีประสิทธิภาพ o การพัฒนาระดับปลายน� ำ ้ ให้เกิดช่องทางและโอกาสทางการตลาด o การวางรากฐานการบริหารจัดการองค์กรสู ค ่ วามเป็นเลิศ ด้วยเป้าหมายของ อ.ส.ค.มิได้อยู่แค่การแสดงความรับผิดชอบ ต่อสังคม (CSR) ซึ ง ่ ต้องมีการก�ำกับดูแลกิจการที ด ่ ี (CG) อยู แ ่ ล้ว แต่เรายัง มองไกลออกไปถึงการสร้างคุณค่าร่วมระหว่างธุรกิจและ สังคม หรือ CSV (Creating Shared Value) ด้วยการสร้างคุณค่าทางเศรษฐกิจควบคู ไ ่ ปกับ การสร้างคุณค่าทางสังคม พร้อมกับการด�ำเนินสู ย ่ ท ุ ธศาสตร์ “นมแห่งชาติ” ของ อ.ส.ค.ภายในปี 2564 และมุ ง ่ สู เ ่ ป้าหมายการพัฒนาที ย ่ ง ั่ ยืนของ องค์การสหประชาติ (SDGs : Sustainable Development Goals) Q 2019 จะเป็นอีกปีท ก ี่ ล่าวได้หรือไม่ว า ่ อ.ส.ค.มีการพัฒนา อย่างยั ง ่ ยืนที ร ่ ด ุ หน้าไปมาก โดยเฉพาะ คาร์บอนฟุตพริ น ้ ท เป็นความจริง เพราะนอกจากการบริหารจัดการ การท�ำ การตลาดจนถึงการขายแล้ว ในส่วนของการดูแลรักษาสิ ง ่ แวดล้อมก็ย ง ั เป็นภารกิจที เ ่ ราให้ความส�ำคัญมานาน โดยในปี 2017 อ.ส.ค.ได้ลงนาม บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ การด�ำเนินการขึ น ้ ทะเบียนฉลากคาร์บอน ฟุตพริ้นท์ ผลิตภัณฑ์นมไทย-เดนมาร์ค ระหว่าง อ.ส.ค.ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และบริษ ท ั เอส ไอ จี คอมบิบล็อค จ�ำกัด ตามนโยบาย อ.ส.ค. ปี 2561 ที จ ่ ะยกระดับผลิตภัณฑ์นม ยู.เอช.ท ไทย-เดนมาร์คด้วยการติดฉลากคาร์บอนฟุตพริ น ้ ท์ (Carbon Footprint Label) บนกล่องนม ยู.เอช.ที เพื อ ่ ส่งเสริมให้ผ บ ้ ู ริโภคตระหนักและรับรู ถ ้ ง ึ ข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของผลิตภัณฑ์ ตลอดจนเป็นการเพิ ม ่ ขีด ความสามารถของอุตสาหกรรมนมไทยในการแข่งขันตลาดโลก เนื อ ่ งจาก ปัจจุบ น ั ผู บ ้ ริโภคทั ง ้ ภายในและต่างประเทศมีแนวโน้มให้ความส�ำคัญกับ สินค้าที ม ่ ก ี ารผลิตเป็นมิตรกับสิ ง ่ แวดล้อมเพิ ม ่ มากขึ น ้ อย่างไรก็ตาม การด�ำเนินการเพื่อขึ้นทะเบียนฉลากคาร์บอน ฟุตพริ น ้ ท์น น ั้ ทั ง ้ สามหน่วยงานมีแผนสร้างความร่วมมือและท�ำงานร่วมกัน อาทิ การแลกเปลี ย ่ นข้อมูลวิชาการ การฝึกอบรมความรู เ ้ บื อ ้ งต้นเกี ย ่ วกับ การประเมินคาร์บอนฟุตพริ น ้ ท์ผลิตภัณฑ์นม ยู.เอช.ที และการค�ำนวณ คาร์บอนฟุตพริ น ้ ท์ พร้อมสนับสนุนด้านงานวิจ ย ั การวิเคราะห์ และ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล เพื อ ่ ให้เป็นไปตามข้อก�ำหนดแนวทาง การประเมินฉลากคาร์บอนฟุตพริ น ้ ท์ขององค์การบริหารจัดการก๊าซเรือน กระจก (องค์การมหาชน) ด้วย ในปี 2018 ที ผ ่ า ่ นมา อ.ส.ค. ได้เก็บข้อมูลเบื อ ้ งต้นเกี ย ่ วกับการผลิต ผลิตภัณฑ์นมทั ง ้ โซ่อ ป ุ ทานนับแต่ต น ้ น� ำ ้ ของเกษตรกรผู เ ้ ลี ย ้ งโคนม จนถึง กลางน� ำ ้ และปลายน� ำ ้ อันได้แก่ การผลิตของอ.ส.ค.และการจ�ำหน่ายถึง ผู บ ้ ริโภค เนื อ ่ งจากการพิจารณาเรื อ ่ งคาร์บอนฟุตพริ น ้ ท์จะพิจารณาตั ง ้ แต