B Connect Issue 12 B-Connect-12 | Page 41

มีม ล ู ค่า 5,155 ล้านเหรียญ ขยายตัว 25.8% คิดเป็นสัดส่วน 2.4% ของการ ส่งออกทั ง ้ หมด โดยสินค้าที ส ่ ำ � คัญ เช่น เคมีภ ณ ฑ์ เม็ดพลาสติก รถยนต อุปกรณ์และส่วนประกอบอัญมณีและเครื อ ่ งประดับ ปาล์มน� ำ ้ มัน ยางพารา และผลิตภัณฑ์ยาง เป็นต้น ส�ำหรับจุดแข็งและโอกาสของ อินเดีย คือ 1. มีประชากรจานวนมากเป็นอันดับ 2 ของโลก 2. มีขนาด GDP อันดับ 3 ของโลก และ GDP ขยายตัวในอัตราสูง 3. อยู ใ ่ นภูม ภ ิ าคใกล้เคียงกับ ไทย มีการพัฒนาถนนให้เชื อ ่ มโยงกับไทยมากขึ น ้ จุดอ่อนและข้อจ�ำกัด ที ส ่ ำ � คัญ อาทิ 1.อัตราภาษีการน�ำเข้าสูง มีการส่งเสริมให้ต า ่ งประเทศมา ลงทุนมากกว่าการน�ำเข้า 2.มีความล่าช้าในการท�ำธุรกรรมเกี ย ่ วกับการ น�ำเข้า 3. มีส ด ั ส่วนการเปิดประเทศตํ า ่ เป็นต้น ตลาด รัสเซียและกลุ ม ่ ประเทศเครือรัฐเอกราช (CIS) ในปี 2560 ไทยส่งออกไปรัสเซีย/CIS มีม ล ู ค่า 768. ล้านเหรียญ ขยายตัว 64% คิดเป็น 0.4% ของการส่งออกทั ง ้ หมด โดยสินค้าที ส ่ ำ � คัญ เช่น รถยนต์ อ ป ุ กรณ และส่วนประกอบผลิตภัณฑ์ยาง อัญมณีและเครื อ ่ งประดับ ผลไม้กระป๋อง และแปรรูป และเม็ดพลาสติก เป็นต้น ในแง่ของจุดแข็งและโอกาสคือ 1. ติดอันดับ 9 ของโลกทั้งขนาดเศรษฐกิจและจ�ำนวนประชากร 2. เศรษฐกิจมีอ ต ั ราการขยายตัวสูง จุดอ่อนและข้อจ�ำกัดที ส ่ ำ � คัญ อาท 1. มีอ ต ั ราภาษีน ำ � เข้าสูง 2. การท�ำธุรกรรมเกี ย ่ วกับการน�ำเข้ามักล่าช้า 3. มีความเสี ย ่ งด้านความขัดแย้งการเมืองระหว่างประเทศ ซึ ง ่ กระทบ ต่อค่าเงินและการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และ 4. เศรษฐกิจพึ ง ่ พาการ ส่งออกน� ำ ้ มันสูง ท�ำให้ม ค ี วามเสี ย ่ งที จ ่ ะได้ร บ ั ผลกระทบต่อเศรษฐกิจหาก ราคาน� ำ ้ มันลดลง Q กระทรวงฯ มีแผนรองรับยุคของการค้าในโลกไร้พรมแดน ไว้อย่างไร กระทรวงพาณิชย์ให้ความส�ำคัญและเล็งเห็นถึงศักยภาพและ โอกาสการเติบโตของเศรษฐกิจการค้ายุคใหม่ (New Economy) ที่เป็นผลมาจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 หรือ 4IR (4th Industrial Revolution) ที เ ่ ป็นแนวโน้มส�ำคัญของโลก จึงมีการส่งเสริมให น�ำเทคโนโลยี การวิจ ย ั นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ และการสร้างสรรค คุณค่าอื น ่ ๆ มาพัฒนาธุรกิจ สินค้า และบริการให้ม ค ี ณ ค่าสอดคล้องกับ ความต้องการตลาด (Demand Driven & Value Creation) รวมทั ง ้ มีการส่งเสริมอุตสาหกรรมแห่งอนาคต (10 S-Curve) ได้แก่ 1) ยานยนต สมัยใหม่ 2) อิเล็กทรอนิกส์อ จ ั ฉริยะ 3) การท่องเที ย ่ วกลุ ม ่ รายได้ด แ ี ละ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 4) การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ 5) อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร 6) หุ น ่ ยนต์ 7) การบินและโลจิสติกส 8) เชื อ ้ เพลิงชีวภาพและเคมีช ว ี ภาพ 9) ดิจ ต ิ อล และ 10) การแพทย ครบวงจร โดยได้พ ฒ นาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC : Eastern Economic Corridor) เพื อ ่ ส่งเสริมการลงทุน 10 S-Curve ข้างต้น โดยมีมาตรการต่างๆ รองรับ อาทิ มาตรการส่งเสริมการ ลงทุน การจัดตัง้ ศูนย์ความเป็นเลิศ (CoE: Center of Excellence) ในด้านต่างๆ เช่น ด้านหุ่นยนต์ ด้านอาหาร ด้านชีวภาพ เป็นต้น เพื่อสั่งสมและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ รวมทั้งเชื่อมโยงการวิจัยและ นวัตกรรมสู ก ่ ารใช้ประโยชน Q ข้อคิดในฐานะที่รัฐมนตรีกระทรวงพาณิชย์ส�ำหรับนัก ลงทุนไทยที อ ่ ยากขยายฐานธุรกิจไปยังตลาดต่างประเทศ ทุกโอกาสก็มักมีอุปสรรคแฝงอยู่เสมอ กระทรวงพาณิชย จึงวางแนวทางช่วยเหลือนักลงทุน โดยมุ่งเน้นให้ความส�ำคัญและ ส่งเสริมธุรกิจไทยทั้งการค้าระหว่างประเทศ (Inter-Trade) และ ต่อยอดให้ก า ้ วออกไปลงทุนในต่างประเทศ (Outward Investment) ด้วยการให้ค�ำปรึกษา พัฒนา จับคู่ธุรกิจ เชื่อมโยงขยายตลาด และอ�ำนวยความสะดวกธุรกิจไทย โดยมีมาตรการผลักดันการส่งออก ดั ง นี้ 1) Strategic Partnership กระชั บ ความสั ม พั น ธ์ เ ชิ ง รุ ก ยกระดับความเป็นหุ้นส่วนเศรษฐกิจเชิงยุทธศาสตร์กับประเทศคู่ค้า ศักยภาพ 2) E-Commerce ด�ำเนินโครงการพาณิชย์ด จ ิ ท ิ ล ั เพื อ ่ พัฒนา SMEs สู ส ่ ากล 3) Creative Economy ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์สร้าง มูลค่าเพิ ม ่ ให้ส น ิ ค้าและบริการ 4) New Economy Academy พัฒนา ผู ป ้ ระกอบการรองรับเศรษฐกิจยุคใหม่ เน้นระดับ SMEs และฐานราก และ 5) Trade in Services ส่งเสริมธุรกิจบริการสู่การเป็นจักรกลใหม อย่างไรก็ตาม สิ ง ่ ส�ำคัญของการท�ำการค้าระหว่างประเทศและการลงทุน ในต่างประเทศ คือ ความพร้อมของธุรกิจโดยเฉพาะ ทัศนคติและ ความมุ ง ่ มั น ่ ของธุรกิจที จ ่ ะเป็นแรงผลักดันในต่อสู ส ้ ค ่ ู วามส�ำเร็จ การใช ความต้องการตลาดเป็นตัวน�ำ (Demand Driven) ที จ ่ ะก�ำหนดลูกค้า เป้าหมาย เข้าใจพฤติกรรมและความต้องการของลูกค้า วิเคราะห์ค แ ่ ู ข่ง และสภาพการแข่งขัน เพื อ ่ จะน�ำมาก�ำหนดกลยุทธ์ธ ร ุ กิจ สร้างแบรนด สร้างสรรค์ค ณ ค่า (Value Creation) ให้ก บ ั สินค้าและบริการที ส ่ อดคล้อง กับความต้องการตลาด ด้วยการใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิด สร้างสรรค์ ให้มากขึ น ้ นอกจากนี ส ้ ง ิ่ ที ธ ่ ร ุ กิจยุคใหม่ควรมี คือ ความยืดหยุ น ่ และการบริหารความเสี ย ่ ง เพื อ ่ ให้ธ ร ุ กิจปรับตัวรองรับการเปลี ย ่ นแปลงให เท่าทันเศรษฐกิจยุคใหม่ท ง ั้ นี ส ้ ำ � หรับธุรกิจไทยที เ ่ พิ ง ่ เริ ม ่ Go Inter อาจเริ ม ่ จากตลาดประเทศเพื อ ่ นบ้าน CLMV ก่อน เพราะเป็นตลาดดาวรุ ง ่ ท ก�ำลังเติบโต สะดวกในเดินทางและขนส่งสินค้า มีระเบียงเศรษฐกิจระดับ ภูม ภ ิ าคและโครงสร้างพื น ้ ฐานที เ ่ ชื อ ่ มโยงกัน ซึ ง ่ เชื อ ่ มโยงสู ภ ่ ม ู ภ ิ าคใกล้เคียง ที ม ่ ศ ี ก ั ยภาพ เช่น จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง เป็นต้น B-CONNECT MAGAZINE 39