B Connect Issue 12 B-Connect-12 | Page 21

THREE-CIRCLE MODEL OF THE FAMILY BUSINESS SYSTEM Ownership ปัญหาของธุรกิจครอบครัวที่ถูกน�ำเสนอ อย่างตรงไปตรงมาและด�ำรงอยู่จริง ท�ำให ละครเรื่องนี้กลายเป็นเรื่องที่ทุกคน “อิน” ได้ไม่ยาก ที่ส�ำคัญ ท�ำให้ธุรกิจครอบครัว หรือ Family Business หลายๆ ครอบครัว ตื่นตัวกันมากขึ้น เนื่องจากละครเรื่องนี้ได สะท้อนให้เห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้นจริงๆ บาง แง่มุมที่หลายๆ ธุรกิจครอบครัวมองข้ามไป หรือก�ำลังเผชิญปัญหาเช่นเดียวกันอยู่แบบ “แทงใจด�ำ” จากการจัดงานสัมมนา “ถอดบทเรียน ธุ ร กิ จ ครอบครัว จากละคร เลือดข้น คน จาง” ซึ่งจัดโดย ศูนย์ศึกษาธุรกิจครอบครัว มหาวิ ท ยาลั ย หอการค้ า ไทย ร่ ว มกั บ ReedTradex และ FAMZ (แฟมซ์) โดยได รับเกียรติจากแขกรับเชิญ ดร.นพดล ธรรม วั ฒ นะ ประธานกรรมการ บริ ษั ท บี ที จ คอปอเรชั่ น จ� ำ กั ด พร้ อ มด้ ว ย ผศ.ดร. เอกชัย อภิศักดิ์กุล และดร.ภูษิต วงศ์หล่อ สายชล ได้ร่วมถอดบทเรียนจากละครดัง กล่าวและสะท้อนเรื่องราว ปัญหาความขัด แย้งของธุรกิจครอบครัว เนื่องจากกว่า 80% ของปัญหาความ ขัดแย้งจากครอบครัวหรือธุรกิจมักจะเป็น “จุ ด เริ่ ม ต้ นของจุด จบตระกูล” เมื่อความ ต้องการของ “ธุรกิจ” กับ “ครอบครัว” คือ ความท้ า ทายที่ ธุ ร กิ จ ครอบครั ว ต้ อ งเผชิ ญ อย่างหลีกเลี่ยงไม่พ้น ผศ.ดร.เอกชัย ได้ให้ค�ำแนะน�ำการรักษา สมดุ ล นี้ ว ่ า “สมาชิ ก ครอบครั ว ต้ อ งเข้ า ใจ บทบาทหน้าที่ของตัวเองเสียก่อน ทั้งนี้ จาก ทฤษฎี The Three-Circle Model of Family Business วงกลมสามวงที่อธิบาย ถึงบทบาทการบริหารงาน การบริหารธุรกิจ และการบริหารครอบครัว ซึ่งผู้ที่เป็นเจ้าของ Non-family Non-manager Owners Family Owners Non-family Owner- Employees Family Owner- Employees Family Members Family Family Employees Non-family Members Business TAGIURI AND DAVIS, 1982 หรือสมาชิกที่มีส่วนเกี่ยวข้องต้องเข้าใจบทบาทหน้าที่ทั้งสามวงนี้ให้ดีก่อน เพราะบางบทบาท หน้าที่มีส่วนทับซ้อนกัน บางคนเป็นสมาชิกครอบครัวและเป็นทั้งเจ้าของ บางคนเป็นสมาชิก ครอบครัวเป็นเจ้าของและเป็นทั้งผู้บริหารด้วย จากทฤษฎีนี้หากเราเข้าใจว่า เราอยู่ตรงพื้นท ไหนของวงกลมแล้ว พื้นที่นั้นควรได้รับอะไร มีบทบาทหน้าที่อย่างไร จะท�ำให้การอยู่ร่วมกัน ของสมาชิกครอบครัวและการบริหารงานราบรื่นไปด้วยดี แต่ถ้าสมาชิกเกิดสับสนในบทบาท หน้าที่ก็จะมีปัญหาวนซ�้ำตลอดเวลา” ขณะที่ ดร.นพดล ได้เปิดเผยแง่มุมจากประสบการณ์ตรงหลังคุณแม่เสียชีวิตไป 10 ปีว่า “ ในทางทฤษฎีฟังดูแล้วง่าย แต่ที่จริงแล้ว คุณสามารถสวมบทบาทอย่างนี้ได้หรือไม่ หากลอง เปรียบเทียบกับตัวละคร “ภัสสร” ที่ได้รับมรดกเป็นเงินสดจ�ำนวน 200 ล้านบาทแล้วต้องการ ซื้อหุ้นโรงแรมเพื่อบริหารธุรกิจที่ตนเองได้ท�ำมาตั้งแต่วันแรกกับประเสริฐพี่ชายคนโตของ ตระกูล แต่ถูกกลับปฏิเสธเพียงเพราะเธอ “แต่งออก” ตามธรรมเนียมมจีน ภัสสรจึงคิดว่าไม ยุติธรรมส�ำหรับเธอ แต่หากภัสสรเข้าใจบทบาทหน้าที่ตัวเองว่าอยู่ตรงไหนของพื้นที่วงกลม สามวงนี้ เธออาจไม่ต้องน้อยใจหรือทวงถามถึงความยุติธรรมจากมรดกที่ได้รับ” ในส่วนของการแบ่งมรดกของธุรกิจครอบครัวนั้น ทั้งสามท่านได้ให้มุมมองว่า การที่จะ ตัดสินว่า กรณีนั้นๆ มีความยุติธรรมหรือไม่นั้นย่อมขึ้นอยู่กับความพึงพอใจตามเหตุและผล ของผู้ตัดสินใจ หากเราอยู่ในสถานะของผู้รับมรดกก็ย่อมต้องเข้าใจและยอมรับเหตุผลของผู้ท มอบมรดกให้แก่เรา เพราะค�ำว่า “ความยุติธรรม” กับ “ความเท่าเทียม” คือค�ำคนละความ หมาย” ปัญหาความขัดแย้งยังคงเป็นเรื่องธรรมชาติ และปัญหานี้สามารถแก้ไขได้ หากม สภาครอบครัวและสภาธุรกิจ เป็นกลไกส�ำคัญที่สามารถช่วยแก้ปัญหาและส่งต่อความยั่งยืน ของตระกูลต่อไปได้ B-CONNECT MAGAZINE 19