B Connect Issue 12 B-Connect-12 | Page 116

ซื้อข้าวสดในราคาที่ชาวนาต้องการ คือ ตันละ 8,000 บาท ซึ่งเป็น ราคาที ส ่ ง ู กว่าราคาท้องตลาด ซึ ง ่ ตอนนั น ้ ราคาตลาดอยู ท ่ ี่ 6,000 บาท แล้ว แต่ราคา 8,000 บาทก็ถือว่าเป็นราคาที่เหมาะสม ชาวนาอยู ได้และแฮปปี้ แต่เมื่อซื้อข้าวสด 8,000 บาท คุณก็ต้องไปแก้ปัญหา ทางการตลาด ด้วยการขายข้าวสารในราคา 26 บาทให้ได้ ถ้าแก ปัญหาเฉพาะการค้าอย่างเดียวนั้นจะไม่ยั่งยืน การที ผ ่ มย� ำ ้ ว่าเป็นการช่วยเหลือ “แบบคนรวย” เพราะตอนหลัง ผมมาเจอการช่วยเหลืออีกแบบที่ต้องเรียกว่า การช่วยเหลือ “แบบ คนจน” เมื อ ่ ได้มาพบกับอาจารย์ย ก ั ษ์ เพราะการช่วยเหลือแบบคนจน นั น ้ มีท ม ี่ าจากตาม “ศาสตร์พระราชา” ที ม ่ อ ี าจารย์ย ก ั ษ์เป็นผู ถ ้ า ่ ยทอด องค์ความรู้ และการได้ร บ ั องค์ความรู เ ้ รื อ ่ งภูม ป ิ ญ ญาท้องถิ น ่ จาก โจน จันได ท�ำให้เราพบว่า นี่แหละคือหนทางเพื่อเติมเต็มความฝันที่เรา อยากช่วยชาวนาให้มีชีวิตที่มั่งคั่งได้ Q นายทุนโรงสีเลยกลายเป็นนักธุรกิจแนว “เพื อ ่ ชีว ต ิ ” หรือ ท�ำนองนั น ้ เพราะจริงๆ แล้ว ในเบื อ ้ งต้นเลย โอกาสที ช ่ าวนา จะอยู่อย่างยั่งยืนได้ ต้องหยุดการใช้สารเคมี ดังนั้น เมื่อผม ประมวลความคิด ประมลเหตุการณ์ต า ่ งๆ ได้ก ท ็ ำ � ให้ผมได้ความคิดมา ว่า ผมขอท�ำโครงการที ช ่ อ ื่ “ธรรมธุรกิจ” ที เ ่ คยคิดชื อ ่ ไว้นานแล้วตั ง ้ แต เมื อ ่ ครั ง ้ บวชเรียน โดยขอให้อาจารย์ย ก ั ษ์และพี โ ่ จนเป็นประธานและ รองประธานโครงการฯ ส่วนผมเป็นผู้จัดการโครงการให ผมด�ำเนินโครงการตามที พ ่ ท ี่ ง ั้ สองด�ำเนินการมาก่อนหน้า นั น ่ คือ การฝึกอบรมเกษตรกร เพื อ ่ เปลี ย ่ นชุดความคิดชาวนาและสอนความ รู ท ้ ถ ่ ี ก ู ต้องให้ก บ ั ชาวนาก่อนว่า การท�ำการเกษตรที จ ่ ะยั ง ่ ยืนได้น น ั้ ต้อง พึ่งพาตนเองให้ได้ก่อนและต้องไม่ปลูกข้าวเพียงอย่างเดียว แต่ต้อง ปลูกป่า 3 อย่าง ให้ประโยชน์ 4 อย่าง คือ ปลูกของกิน ของใช้ ของ อยู่อาศัย เพื่อให้มีสภาวะอากาศที่ดีและสิ่งแวดล้อมที่ดีด้วย จริงๆ ต้องยอมรับว่า องค์ความรู้แบบนี้เถ้าแก่โรงสีไม่มีใครรู้อย แล้ว เพราะโรงสีก็จะมองแต่มุมการค้า แต่เมื่อเราได้ความรู้เกี่ยวกับ ศาสตร์พระราชา ผมก็เดินกลับไปหาแกนน�ำชาวนาที ป ่ ด ิ ถนนประท้วง ในครั้งนั้น ทั้งที่ปกติโรงสีที่ซื้อข้าวจะไม่รู้จักชาวนา เพราะแค่ยกสาย หาพ่อค้าคนกลางที่เรียกว่า “ท่าข้าว” บอกวันนี้เอา 10 พ่วง (1 พ่วง (รถพ่วง) = น�้ำหนัก 30 ตัน) จากนั้นก็โอนเงินไป ราคาขึ้น 10 สตางค โอนเงินไป ราคาลง 20 สตางค์ก็โอนเงินไป ในครั้งนั้นโรงสีสิริภิญโญจ่ายแทนรัฐบาลไป 120 ล้านบาท แต ไม่ได้คืนจากรัฐบาลเลย ไม่ว่าจะเปลี่ยนมากี่รัฐบาลก็ตาม รัฐบาล ก็ใม่สนใจ ไม่มีใครสนใจความเดือดร้อนของเรา และที่สุด โรงสีก็ถูก ธนาคารฟ้องยึด ไม่ว่าจะเป็นข้าราชการประจ�ำหรือนักการเมืองต่าง ก็มีภารกิจของตนเองที่ไม่ใช่ประชาชน ฉะนั น ้ เราก็เลยรู ว ้ า ่ การพัฒนาประเทศควรต้องเริ ม ่ ที ป ่ ระชาชน นั น ่ แหละ ไม่ใช่เริ ม ่ ต้นที ข ่ า ้ ราชการหรือนักการเมือง เพียงแต่ถ า ้ จะไป ได้เร็ว การเมืองต้องเข้าหนุนเสริม ข้าราชการจะได้หนุนตาม อย่าง 114 B-CONNECT MAGAZINE วันนี้อาจารย์ยักษ์ (วิวัฒน์ ศัลยก�ำธร) ขึ้นเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แม้จะเป็นช่วงสั น ้ ๆ แต่ก ท ็ ำ � ให้เห็นความ เปลี่ยนแปลงว่า เรื่องการเกษตรที่ไม่ใช้สารเคมีคืบหน้ากว่าตอนท อาจารย์ยักษ์ยังไม่เข้ามาเป็นรัฐมนตรีช่วยเยอะมาก Q การเปลี่ยนชุดความคิดเกษตรกรไม่ใช่เรื่องง่าย เริ่ม จุดประกายอย่างไร จากการเรียนรู้จากอาจารย์ยักษ์ ท�ำให้ผมสามารถวางการ ขับเคลื่อนอย่างชัดเจนและเป็นขั้นเป็นตอน เพื่อสร้างชุดความคิด ใหม่กับชาวนาว่า ถ้าไม่ใช่ปุ๋ยเคมี ไม่ใช้ยาฆ่าแมลง ไม่ใช้ยาฆ่าหญ้า จะเป็นหนทางสู่ความยั่งยืน จากเดิมที่คนพวกนี้เชื่อว่า ถ้าใม่ใช้สาร เคมีช่วยจะท�ำให้ไม่ได้ข้าวเลยด้วยซ�้ำ หรือถ้าไม่ใช้ยาฆ่าแมลง แต่นา แปลงข้างๆ ใช้ แมลงก็จะมากินข้าวๆ ที ไ ่ ม่ใช้เคมีของเขาจนหมด หรือ คิดว่าหญ้าจะขึ้นแทนข้าว ผมเองก็เคยเชื อ ่ แบบนี แ ้ ละหยิบประเด็นนี ม ้ าท้าทายอาจารย์ย ก ั ษ ว่า อาจารย์ท�ำได้หรือไม่ว่า ถ้าไม่ใช้เคมี ผลผลิตต่อไร่ต้องไม่ลดลง ถ้า ท�ำไม่ได้ ชาวนาทั ง ้ ประเทศก็ไม่ม ท ี างจะท�ำอย่างที อ ่ าจารย์ต อ ้ งการได บางคนบอกด้วยซ�้ำว่า การท�ำเกษตรอินทรีย์นั้นกว่าจะมีผลผลิตเท่า เดิมอาจต้องใช้เวลาประมาณ 2-5 ปีด ว ้ ย ตอนนั น ้ เมื อ ่ 5-6 ปีก อ ่ น ข้าว อินทรีย ร ์ าคาต่อกิโลกรัมไม่ต ำ �่ กว่าร้อยบาท แล้วการจะหาซื อ ้ ก็หายาก ไม่มีวางขาย นอกจากไปซื้อกับชาวนา ซื้อตามอีเว้นท อาจารย์ยักษ์ตอบผมว่า ท�ำได้ ผมก็บอก ชาวนาที่ท�ำนามา 40- 50 ปียังบอกท�ำไม่ได้ อาจารยักษ์ตอบผมกลับว่า พวกนั้นท�ำนาไม เป็น ถ้าท�ำนาเป็นผลผลิตต่อไร่ไม่ลด เพราะอาจารย์ยักษ์มีบทพิสูจน มาแล้วที่มาบเอื้อง ซึ่งเมื่อผมได้มีโอกาสไปที่นี่จึงทราบว่า มีคนเรียก อาจารย์ยักษ์ว่า “ชายเพี้ยน” เพราะเคยตามเสด็จในหลวงรัชกาลท 9 จดบันทึกพระราชด�ำรัสของพระองค์ท่าน เพื่อขับเคลื่อนโครงการ พระราชด�ำริของ ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.) ส�ำนักนายก รัฐมนตรี และเนื อ ่ งจากชาวบ้านท้าทายอาจารย์ว า ่ มัวแต่มาสอน มีเงิน เดือนประจ�ำ รถหลวงก็ออกค่าน�้ำมันให้ ท�ำนาเป็นหรือเปล่า แน่จริง ออกมาท�ำเองสิ อาจารย์ย ก ั ษ์ก เ ็ ป็นลูกชาวนาอยู แ ่ ล้วก็ลาออกจากงาน ราชการมาสร้างศูนย์กสิกรรมมาบเอื้อง เพื่อพิสูจน์ให้เห็นว่า เกษตร อินทรีย์ไม่ท�ำให้ผลผลิตลดลง นี่จึงท�ำให้ผมยอมเสี่ยงและพาชาวนา 90 คนจากเชียงใหม่มาฝึก อบรมด้วยกันในปี 2013 ที ม ่ าบเอื อ ้ ง แต่มาวันแรกมีคนขอกลับบ้านถึง 40 คน เพราะคนที ม ่ าคิดว่า มาพักผ่อนสบายๆ แบบที พ ่ รรคการเมือง หรืออบต.จัด ซึ ง ่ ประเด็นนี อ ้ าจารย์ย ก ั ษ์เตือนแล้วว่า เราต้องหาชาวนา “หัวไว ใจสู ” ้ มา ถ้าบีบบังคับรับรองไม่ส ำ � เร็จ ซึ ง ่ ผมใช้ว ธ ิ เ ี ปิดเวทีและ เกณฑ์ชาวบ้านมาและให้ชาวนาเกณฑ์ชาวบ้านมา แล้วพออบรมจริงๆ เหลือไม่มากสัก 20-30 คน และเหลือคนที่สนใจท�ำจริงสิบกว่าคน เท่านั้น ซึ่งเราก็ขอทดลองกับสมาชิกที่สนใจรายละ 1 ไร่เป็นไข่แดง