B Connect Issue 12 B-Connect-12 | Page 115

พิเชษฐ โตนิติวงศ ธรรมธุรกิจ : ธรรมน�ำธุรกิจ ผลิต ชาวนาธรรมชาต รับชมวีดีโอสัมภาษณ ปัญหาเกษตรกรและปัญหาข้าวถือเป็นปัญหาคู่บ้านคู่เมืองที่อยู่กันมานานหลายทศวรรษ ความช่วยเหลือจากรัฐบาลและภาครัฐท พยายามเข้ามาช่วยเหลือ แต่ที่ผ่านมาเหมือนเกาไม่ถูกที่คัน ที่ส�ำคัญ กลายเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ หรือแก้เพื่อสร้างภาพ สร้างฐาน เสียง หนึ่งในกลไกที่เคยเข้าไปช่วยกระบวนการแก้ปัญหานี้จนบาดเจ็บคือ โรงสีสิริภิญโญ จ.ฉะเชิงเทราของ พิเชษฐ โตนิติวงศ์ ที่ต้อง สูญเงิน 120 ล้านบาทตั้งแต่ปี 2008 และปัจจุบันโรงสีแห่งนี้ก็ถูกธนาคารยึดทรัพย์ไว พิเชษฐ เคยบวชเรียนเมื่อถึงวัยต้องบวชและค้นพบโลกทางธรรม ก่อนพบวิกฤตชีวิต และได้ชื่อ “ธรรมธุรกิจ” ตั้งแต่ครั้งนั้น โดย คิดที่จะใช้ “ธรรมะน�ำธุรกิจ” กับธุรกิจที่ต้องการสร้างความมั่งคั่ง ยั่งยืนให้กับเกษตรกรไทย ตามศาสตร์พระราชาและการใช้องค์ความ รู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เมื่อเขาได้พบพันธมิตรส�ำคัญอย่าง “อาจารย์ยักษ์” วิวัฒน์ ศัลยก�ำธร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ รัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และ โจน จันได ผู้ที่น�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและศาสตร์พระราชามาแปลงสู่การ ปฏิบัติ จนเห็นผลเชิงประจักษ์ ท�ำให้ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง องค์ความรู้ตามศาสตร์ของพระเจ้าแผ่นดิน เกิดขึ้นและกระจายไป ในทุกภาคของประเทศ Q จุดพลิกชีวิตเถ้าแก่โรงสีมาท�ำโครงการธรรมธุรกิจ คืออะไร ต้ อ งย้ อ นเล่ า ถึ ง ปี 2008 กรณี ช าวนาเชี ย งใหม่ อ� ำ เภอ ดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ และอ�ำเภอใกล้เคียง ประมาณ 100 คน ชุมนุมประท้วงราคาข้าวเปลือกเหนียวนาปรังตกต� ำ ่ และขู ป ่ ด ิ ถนน เชียงใหม่-เชียงราย หลังโรงสีไม่ยอมรับซื อ ้ ข้าวในราคาประกัน พร้อม เรียกร้องให้ร ฐ ั มนตรีว า ่ การกระทรวงพาณิชย์ ในยุคนั น ้ เดินทางมาพบ เพื่อเจรจาแก้ไขปัญหา จริงๆ โรงสีส ร ิ ภ ิ ญ โญเราก็ท ำ � ข้าวกล้องเหนียวมานานแล้วตั ง ้ แต่ปี 2002 - ปี 2008 ดังนั้น เมื่อมีปัญหาดังกล่าว รัฐบาลก็ขอให้ผมมา ช่วยแก้ปัญหา เพราะตอนนั้นผมท�ำโรงสีสิริภิญโญและสร้างชื่อเสียง จากการท�ำตลาดข้าวเหนียว แต่ไม่ใช่ข้าวเหนียวกล้อง ตอนนั้นมีคน ตั ง ้ ฉายาให้ผมว่าเป็น “เจ้าพ่อข้าวเหนียว” เพราะเป็นโรงสีภาคกลาง ที่รับซื้อข้าวเหนียวจากเชียงใหม่ เชียงราย มาท�ำการตลาด มาสร้าง แบรนด์ “ขันเงิน” ”ขันทอง” จนติดตลาด ตอนนั้ น เราเอาข้ า วเหนี ย วจากเชี ย งใหม่ เชี ย งรายมาสี ท ฉะเชิงเทรา ดังนั้น การท�ำงานในตอนนั้นก็ถือเป็นเรื่องปกติ การรับ งานครั้งนั้น เราถือว่าเป็นการช่วยเหลือชาวนากับรัฐบาล เพื่อคิดหา วิธีระบายสต็อกข้าว เนื่องจากราคาข้าวก็ไม่มีเสถียรภาพเดี๋ยวขึ้น เดี๋ยวลง เราเห็นการขึ้นลงของราคาข้าวเหนียวไปวัฏจักร 3 ปีดีหน หนึ่ง ซึ่งชาวนาจะไม่ได้ประโยชน์จากราคาขึ้น เพราะนั่นคื ข้าวของ ชาวนาน้อยราคาจึงขึ้น แต่ชาวนาจะได้รับผลกระทบเต็มเมื่อราคา ลง เพราะนั่นคือชาวนามีข้าวมากราคาจึงลง เมื่อมีโอกาสน�ำเสนอ กับรัฐ ผู้มีอ�ำนาจก�ำหนดนโยบาย คิดว่าจะท�ำให้ราคาข้าวเหนียวดีม เสถียรภาพได้ เพียงแค่รัฐต้องหาค�ำสั่งซื้อจากต่างประเทศและขยาย ตลาดข้าวกล้องเท่านั้นก็เพียงพอแล้ว แต่ความเป็นจริงก็ท�ำให้รู้ว่า ถ้าใช้เงิน ราคา เป็นตัวชี้วัด ตัวชี้น�ำ ท�ำแบบคนรวย ไม่ได้ช่วยชาวนา อย่างยั่งยืน เมื่อหมดเงินก็หมดกัน ราคามีขึ้นมีลง ไม่ยั่งยืน ส่วนการท�ำงานในวันนี ข ้ อง “ธรรมธุรกิจ” นั น ้ ไม่ใช่เรื อ ่ งปกติ แล้ว ก็ไม่ใช่การรีแบรนด์ ทว่า เป็นการเริ ม ่ ต้นใหม่ท ม ี่ ส ี าเหตุมาจากการช่วย เหลือชาวนาครั้งนั้น การช่วยเหลือชาวนาในครั้งนั้น ต้องบอกว่าเป็นการช่วยเหลือ ชาวนาแบบคนรวย ชาวนาอยากได้ราคาเท่านี้ก็ไปหาเงินมาซื้อใน ราคาที่ต้องการ ดังนั้น นี่จึงเป็นการช่วยเหลือด้วยเงิน ด้วยการค้า ล้วนๆ ซึ่งการช่วยเหลือแบบคนรวยนั้นไม่ยั่งยืน เพราะตอนนั้นราคา ข้าวตกต�่ำ ชาวนาปิดถนนแล้วร้องขอกับรัฐบาลว่าให้หาโรงสีเพื่อรับ B-CONNECT MAGAZINE 113